Return to Video

ATP: Adenosine Triphosphate

  • 0:01 - 0:03
    หนึ่งในโมเลกุลที่สำคัญที่สุดในแง่ของชีววิทยา
  • 0:03 - 0:06
    คือ ATP
  • 0:06 - 0:14
    ATP ซึ่งย่อมาจาก Adenosine Triphosphate
  • 0:19 - 0:20
    ซึ่งฟังดูเท่มาก
  • 0:20 - 0:24
    แต่คุณต้องจำเอาไว้ว่า เมื่อไหร่ก็ตามที่คุณเห็น ATP
  • 0:24 - 0:28
    อยู่ในปฏิกิริยาชีวเคมี
  • 0:28 - 0:31
    คุณต้องบอกทันทีว่า ปฏิกิริยานี้มีส่วนร่วมกับ
  • 0:31 - 0:32
    พลังงาน ทางชีววิทยา
  • 0:32 - 0:39
    หรืออีกวิธีหนึ่งที่จะคิดว่า ATP คือพลังงาน
  • 0:39 - 0:43
    ผมจะเขียน "พลังงานทางชีววิทยา"
  • 0:47 - 0:49
    แล้วมันเกี่ยวอะไรกับหน่วยพลังงาน?
  • 0:49 - 0:52
    คือ ATP สะสมพลังงานของมันไว้ในพันธะ
  • 0:52 - 0:54
    ซึ่งผมจะอธิบายต่อไป
  • 0:54 - 0:56
    ก่อนที่เราจะเรียนรู้ว่า กลุ่ม Adenosine หรือ
  • 0:56 - 0:59
    กลุ่ม Triphosphate หน้าตาเป็นอย่างไร
  • 0:59 - 1:03
    ผมอยากให้คุณจินตนาการว่า ATP
  • 1:03 - 1:06
    มีองค์ประกอบ ของสิ่งที่เรียกว่า
  • 1:06 - 1:09
    กลุ่ม Adenosine ตรงนี้
  • 1:09 - 1:12
    แล้วก็มี กลุ่ม Phosophate 3 อัน เกาะอยู่ด้วยกัน
  • 1:12 - 1:13
    แล้วก็มี กลุ่ม Phosophate 3 อัน เกาะอยู่ด้วยกัน
  • 1:13 - 1:18
    เรามีกลุ่ม Phosphate 3 อัน ก็ไว้อย่างนั้น
  • 1:18 - 1:22
    และนี่ก็คือ ATP
  • 1:22 - 1:24
    Adenosine Triphosphate
  • 1:24 - 1:28
    Tri- แปลว่า 3 ซึ่งหมายความว่ามี Phosphate 3 กลุ่ม
  • 1:28 - 1:31
    ถ้าคุณนำ ATP และคุณสลาย
  • 1:31 - 1:33
    พันธะนี้ ซึ่งหมายความว่า
  • 1:33 - 1:35
    ต้องมีน้ำเข้ามาเกี่ยวข้อง
  • 1:35 - 1:37
    ผมจะนำน้ำเข้ามาในนี้
  • 1:37 - 1:42
    ตอนนี้ผมมี H2O
  • 1:42 - 1:44
    จากนั้น กลุ่ม Phosphate กลุ่มนี้จะแตกออกไป
  • 1:44 - 1:47
    พูดง่ายๆ คือน้ำเข้ามาจับกับกลุ่ม Phosphate นี้
  • 1:47 - 1:49
    และส่วนของน้ำก็จะเชื่อมกับกลุ่ม
  • 1:49 - 1:50
    Phosphate ตรงนี้
  • 1:50 - 1:52
    เดียวผมจะพูดอีกครั้ง โดยมีรายละเอียดมากกว่านี้
  • 1:52 - 1:54
    แต่ตอนนี้ผมต้องการให้คุณเห็นภาพก่อน
  • 1:54 - 1:57
    ซึ่งหลังจากปฏิกิริยา คุณจะมีกลุ่ม Adenosine
  • 1:57 - 1:59
    และ กลุ่ม Phosphate 2 กลุ่ม
  • 2:01 - 2:08
    ซึ่งโมเลกุลนี้เรียกว่า Adenosine Diphosphate หรือ ADP
  • 2:08 - 2:12
    ก่อนหน้านี้เรามี Phosphate 3 กลุ่ม
  • 2:12 - 2:14
    ตอนนี้เรามี Phosphate 2 กลุ่ม
  • 2:14 - 2:17
    จากที่เคยเขียนว่า Tri- เราจะเขียนว่า Di-
  • 2:17 - 2:19
    ซึ่งแปลว่าคุณมีกลุ่ม Phosphate 2 กลุ่ม
  • 2:19 - 2:23
    ในตอนนี้ ATP ได้เสียกลุ่ม Phosphate
  • 2:23 - 2:25
    ออกไป 1 กลุ่ม
  • 2:25 - 2:28
    ซึ่งตอนนี้เรามี ADP และกลุ่ม
  • 2:28 - 2:31
    Phosphate อยู่ตรงนี้
  • 2:31 - 2:33
    และทุกอย่างที่เรากำลัง
  • 2:33 - 2:36
    พูดถึง ATP คือ
  • 2:36 - 2:37
    พลังงาน
  • 2:41 - 2:46
    เมื่อผมพูดว่า ATP เป็นหน่วยของพลังงาน
  • 2:46 - 2:48
    พลังงานทางชีววิทยา นี่คือเหตุผล
  • 2:48 - 2:52
    ตอนนี้คุณมี ATP และถ้าคุณมี
  • 2:52 - 2:56
    ปฏิกิริยาทางชีวเคมี เมื่อคุณเอากลุ่ม Phosphate ออกไป
  • 2:56 - 2:57
    คุณจะได้พลังงาน
  • 2:57 - 3:00
    ซึ่งพลังงานสามารถนำมาเปลี่ยนเป็นความร้อน
  • 3:00 - 3:03
    หรือเอาไว้ทำปฏิกิริยาอื่นๆ
  • 3:03 - 3:04
    ที่ต้องใช้พลังงาน
  • 3:04 - 3:08
    เพื่อให้ปฏิกิริยานั้นเป็นไปได้
  • 3:08 - 3:10
    ดังนั้นผมวาดวงกลมของ
  • 3:10 - 3:12
    Adenosine และ Phosphates
  • 3:12 - 3:15
    และนี่เป็นสิ่งที่คุณควรจะรู้
  • 3:15 - 3:17
    ทั้งหมดนี้คือสิ่งที่ควรรู้
  • 3:17 - 3:21
    เกี่ยวกับการทำงานของ ATP
  • 3:21 - 3:22
    ในระบบทางชีวภาพส่วนใหญ่
  • 3:22 - 3:23
    แต่ถ้าคุณมองในมุมกลับกัน
  • 3:23 - 3:25
    คุณมีพลังงาน และคุณต้องการสร้าง ATP
  • 3:25 - 3:26
    ปฏิกิริยาจะเป็นในรูปแบบนี้
  • 3:26 - 3:29
    ด้วย พลังงาน กลุ่มฟอสเฟต และ ADP บางส่วน
  • 3:29 - 3:31
    คุณสามารถย้อนกลับไปสร้าง ATP ได้
  • 3:31 - 3:33
    เพื่อเราจะมีพลังงานที่เก็บไว้
  • 3:33 - 3:37
    ดังนั้นสมการด้านนี้มีไว้เพื่อเก็บพลังงาน
  • 3:37 - 3:39
    และสมการด้านนี้มีไว้ใช้พลังงาน
  • 3:39 - 3:44
    ทั้งหมดนี้คือ 95% ของสิ่งที่คุณจำเป็นต้องรู้
  • 3:44 - 3:46
    เพื่อเข้าใจการทำงานของ ATP
  • 3:46 - 3:49
    ในระบบชีวภาพ มันเป็นเพียงแค่ที่เก็บพลังงาน
  • 3:49 - 3:51
    เมื่อคุณมี ATP - คุณมีพลังงาน
  • 3:51 - 3:54
    เมื่อคุณดึงกลุ่มฟอสเฟตออก มันจะปลดปล่อยสร้างพลังงาน
  • 3:54 - 3:57
    เมื่อคุณต้องการรวม ADP และกลุ่มฟอสเฟตเข้าด้วยกัน
  • 3:57 - 4:00
    เป็น ATP คุณก็ต้องใช้พลังงาน
  • 4:00 - 4:02
    ATP คือแหล่งพลังงาน
  • 4:02 - 4:07
    ถ้าคุณมี ADP และคุณต้องการ ATP คุณจำเป็นต้องใช้พลังงาน
  • 4:07 - 4:10
    ตอนนี้ผมได้วาดแค่วงกลมที่เขียนว่า A
  • 4:10 - 4:10
    ซึ่งนั่นคือ Adenosine
  • 4:10 - 4:13
    แต่บางครั้งz,คิดว่า มันก็น่าตื่นเต้นที่ได้เห็น
  • 4:13 - 4:14
    ลักษณะที่แท้จริงของโมเลกุล
  • 4:14 - 4:17
    ผมลอกภาพนี้มาจากวิกิพีเดีย
  • 4:17 - 4:19
    เหตุผลที่ผมไม่แสดงภาพนี้ให้คุณดูแต่แรก
  • 4:19 - 4:21
    เพราะมันดูซับซ้อนมาก
  • 4:21 - 4:25
    ซึ่งเหตุผลที่ ATP ต้องเป็นหน่วย
  • 4:25 - 4:27
    ของพลังงาน ผมคิดว่ามันค่อนข้างตรงไปตรงมา
  • 4:27 - 4:30
    โมเลกุลของมันมีกลุ่มฟอสเฟต 3 อัน และฟอสเฟตกลุ่มหนึ่งหนึ่งสามารถแตกออก
  • 4:30 - 4:33
    เพื่อให้พลังงาน
  • 4:33 - 4:35
    แก่ระบบ
  • 4:35 - 4:37
    หรือ ถ้าคุณต้องการติดกลุ่มฟอสเฟต
  • 4:37 - 4:38
    คุณต้องใช้พลังงาน
  • 4:38 - 4:40
    นั่นเป็นเพียงหลักการพื้นฐานของ ATP
  • 4:40 - 4:44
    แต่นี่คือโครงสร้างของจริง
  • 4:44 - 4:46
    แต่ในภาพนี้เราสามารถแบ่งภาพออกเป็นส่วนๆ
  • 4:46 - 4:48
    และเราจะเห็นว่ามันไม่ยากเกินไป
  • 4:48 - 4:49
    เรากล่าวว่า Adenosine
  • 4:49 - 4:50
    ให้ผมวาดกลุ่ม Adenosine
  • 4:50 - 4:52
    เรามี Adenosine
  • 4:52 - 4:54
    ตรงนี้คือ Adenosine
  • 4:54 - 4:57
    ตรงส่วนนี้ของโมเลกุลคือ
  • 4:57 - 4:58
    Adenosine
  • 5:01 - 5:04
    และสำหรับผู้ที่เคยดูวิดีโออื่น
  • 5:04 - 5:08
    คุณอาจรู้ว่าส่วนนี้ของ Adenosine
  • 5:08 - 5:11
    ทั้งก้อนนี้เรียกว่า Adenosine แต่ส่วนเล็กๆ นี้
  • 5:11 - 5:13
    คือ Adenine
  • 5:17 - 5:21
    ซึ่งเป็น Adenine อันเดียวกันที่สร้างขึ้นกรดนิวคลีอิก
  • 5:21 - 5:22
    ที่อยู่ใน DNA
  • 5:22 - 5:26
    บางโมเลกุลในระบบชีวภาพ สามารถมีหลาย
  • 5:26 - 5:27
    หน้าที่ในการทำงาน
  • 5:27 - 5:28
    นี่คือ Adenine อันเดียวกันเมื่อเราพูดถึง
  • 5:28 - 5:30
    Adenine และ Guanine
  • 5:30 - 5:31
    ซึ่งทั้งสองโมเลกุลนี้คือ Purine
  • 5:31 - 5:33
    และมีอีกประเภทคือ Pyrimidines แต่ผมจะไม่
  • 5:33 - 5:34
    อธิบายส่วนนั้นมาก
  • 5:34 - 5:35
    แต่ทั้งหมดนี้เป็นโมเลกุลเดียวกัน
  • 5:35 - 5:36
    ผมอธิบายเพื่อให้เป็นที่น่าสนใจ
  • 5:36 - 5:40
    ว่าโมเลกุลเดียวกันที่สร้าง DNA นั้นเป็นส่วนประกอบของ
  • 5:40 - 5:43
    โมเลกุลพลังงานเหล่านี้
  • 5:43 - 5:48
    ดังนั้น Adenine เป็นส่วนหนึ่งของ Adenosine ของ ATP
  • 5:48 - 5:50
    และส่วนอื่นๆ ตรงนี้คือน้ำตาล ribose
  • 5:55 - 6:01
    ซึ่งคุณอาจจะเคยรู้จักน้ำตาลนี้ จาก RNA หรือกรด Ribonucleic
  • 6:01 - 6:03
    ซึ่งเพราะคุณมี ribose อยู่ทุกที่
  • 6:03 - 6:05
    ในสถานการณ์ทั้งหมด
  • 6:05 - 6:06
    แต่ผมจะไม่อธิบายตรงส่วนนั้นมากนัก
  • 6:06 - 6:09
    Ribose เป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 โมเลกุล
  • 6:09 - 6:11
    ถ้าพวกเขาไม่วาดรูปโมเลกุล เราสามารถรู้ได้ว่า
  • 6:11 - 6:12
    มันคือคาร์บอน
  • 6:12 - 6:15
    ดังนั้น นี้เป็นคาร์บอนอันที่ 1 คาร์บอนอันที่ 2 คาร์บอนอันที่ 3
  • 6:15 - 6:19
    คาร์บอนอันที่ 4 คาร์บอนอันที่ 5
  • 6:19 - 6:20
    นี่เป็นสิ่งที่เราสมควรรู้
  • 6:20 - 6:22
    เราควรรู้ว่า ATP แบ่งปันส่วนประกอบของมัน
  • 6:22 - 6:24
    กับ DNA
  • 6:24 - 6:26
    และเหล่านี้คือหน่วยพื้นฐานของชีวิต
  • 6:26 - 6:27
    ที่เราเห็นซ้ำไปซ้ำมา
Title:
ATP: Adenosine Triphosphate
Description:

Introduction to ATP or Adenosine Triphosphate

more » « less
Video Language:
English
Duration:
13:35
chaichontat edited Thai subtitles for ATP: Adenosine Triphosphate
chaichontat edited Thai subtitles for ATP: Adenosine Triphosphate
PinkCassiaFlora29 edited Thai subtitles for ATP: Adenosine Triphosphate
chaichontat added a translation

Thai subtitles

Incomplete

Revisions