Return to Video

เรื่อง กฏข้อที่ 1 ของนิวตัน

  • 0:01 - 0:06
    ในวิดีโอนี้ เราจะมาคุยกันในเรื่องของกฏข้อที่ 1 ของนิวตัน
  • 0:06 - 0:11
    และหลักการการเคลื่อนที่ของของนิวตันเป็นภาษาไทย
  • 0:11 - 0:16
    ซึ่งในกฏข้อแรกนี้กล่าวว่า วัตถุทุกวัตถุจะอยู่ในสถานะของกำลังที่เหลือ คืออยู่นิ่งๆ
  • 0:16 - 0:23
    โดยสภาวะนั้นมีการเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงสม่ำเสมอ เว้นแต่
  • 0:23 - 0:28
    จะถูกแรงมาบังคับกระทำให้เปลี่ยน
  • 0:28 - 0:33
    ซึ่งเราจะกล่าวใหม่ได้ว่า วัตถุทุกวัตถุจะยังคงมีอยู่และเป็นเช่นนั้น
  • 0:33 - 0:39
    คือ จะอยู่กับที่หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่คงที่
  • 0:39 - 0:44
    นอกจากว่าจะถูกแรงกระทำให้เปลี่ยนสถานะ และทำตามผลกระทบนั้นๆ
  • 0:44 - 0:47
    โดยเฉพาะ แรงที่ไม่สมดุล และจะได้อธิบายต่อไป
  • 0:47 - 0:51
    ดังนั้นถ้าเรามีวัตถุที่อยู่นิ่งๆ
  • 0:51 - 0:58
    อย่างเช่นสมมติว่าผม มีหินอยู่ก่อนหนึ่ง
  • 0:58 - 1:08
    ซึ่งหินก้อนนี้วางอยู่ที่สนามหญ้า
  • 1:08 - 1:14
    ผมทำการสังเกตหินได้ว่า มันไม่เคลื่อนที่ สมมติว่าไม่มีอะไรไปกระทำที่หิน
  • 1:14 - 1:18
    ถ้าที่สนามหญ้าไม่มีแรงมากระทำที่หิน หินจะยังคงอยู่กับที่
  • 1:18 - 1:24
    ดังนั้นส่วนแรกที่เราจะสังเกตุคือ วัตถุุที่อยู่กับที่นิ่งๆ
  • 1:24 - 1:29
    ซึ่ง ผม จะไม่ทำในส่วนถัดไป เว้นแต่มีแรงมากระทำ
  • 1:29 - 1:33
    ชัดเจนว่าหินจะยังคงอยู่กับที่ ถ้ามันไม่มีแรงมากระทำ
  • 1:33 - 1:37
    ถ้าไม่มีใครพยายามดันหิน หรือ กลิ้งมัน หรือ ให้แรงกับมัน
  • 1:37 - 1:42
    ซึ่งนั้นจะเป็นส่วนถัดไป และยากขึ้นมาอีกนิดในกาารพิจารณา
  • 1:42 - 1:49
    วัตถุทุกวัตถุที่อยู่กับที่ หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
  • 1:49 - 1:53
    ยกเว้นมีแรงมากระทำให้มันเปลี่ยนสภาวะที่เป็นอยู่
  • 1:53 - 1:57
    แล้ว นั่นเราจะเรียกว่า "กฏข้อที่หนึ่งของนิวตัน"
  • 1:57 - 2:01
    และนี้คือ นิวตัน
  • 2:01 - 2:05
    และถ้านี้เป็นกฏข้อที่หนึ่งของนิวตัน แล้วรูปชายคนนี้คือใครกันล่ะ
  • 2:05 - 2:11
    จริงแล้วนี้เป็นเหตุผลที่ว่ากฏข้อที่หนึ่งของนิวตันเป็นจริง เพราะได้นำกฏของความเฉื่อยของชายผู้นี้มาปรับทีหลัง
  • 2:11 - 2:19
    และชายคนนี้ ก็คือ กาลิเลโอ กาลิเลอี
  • 2:19 - 2:23
    และเขาเป็นบุคคลแรกที่แสดงกฏของความเฉื่อย
  • 2:23 - 2:27
    ซึ่งนิวตันได้นำมาเรียบเรียงขึ้นใหม่เพียงเล็กน้อย และรวมเป็นกฏของเขาเอง
  • 2:27 - 2:29
    แต่เขามีสิ่งอื่นๆ อีกมากมาย
  • 2:29 - 2:33
    ดังนั้นเราควรยกย่องกาลิเลโอสำหรับกฏข้อแรกของนิวตัน
  • 2:33 - 2:35
    ซึ่งนี้เป็นเหตุผลว่าทำไมจึงมีรูปกาลิเลโอที่ใหญ่กว่านิวตัน
  • 2:35 - 2:37
    แต่ถ้าเราพิจารณาให้ดีๆ
  • 2:37 - 2:41
    เราจะเข้าใจว่าทำไมของที่อยู่กับที่จะยังอยู่กับที่ ตราบจนมันมีแรงมากระทำ
  • 2:41 - 2:44
    ในบางความหมายเราเห็นว่า "ถ้ามีแรงที่ไม่สมดุลมากระทำ"
  • 2:44 - 2:49
    และเหตุผลของ "ไม่สมดุล" เป็นเพราะว่า มีแรง 2 แรงที่ไม่เท่ากันมากระทำ
  • 2:49 - 2:51
    และมันจะไม่สมดุลต่อไป
  • 2:51 - 2:55
    ตัวอย่างเช่น ผมดันหินทางด้านนี้ จะมีแรงส่วนนึงมากระทำที่หิน
  • 2:55 - 3:01
    และถ้าคุณดันอีกด้านของหิน เช่นกันก็จะมีแรงส่วนนึงมากระทำที่หิน
  • 3:01 - 3:06
    ทางเดียวที่มันจะเคลื่อนคือ แรงด้านใดด้านหนึ่งต้องมากกว่าแรงอีกด้าน
  • 3:06 - 3:08
    ซึ่งถ้าวัตถุมีแรงที่ไม่เท่ากันมากระทำ
  • 3:08 - 3:11
    อย่างเช่นมีวัตถุซัก 1 ตัน คุณก็อาจจะดันแล้วไม่เคลื่อนที่ก็ได้
  • 3:11 - 3:13
    แต่ถ้าคุณเปลี่ยนไปดันบนพื้นนำแข็ง อาจจะง่ายกว่า
  • 3:13 - 3:15
    แต่ถ้าคุณเปลี่ยนไปดันบนพื้นนำแข็ง อาจจะง่ายกว่า
  • 3:15 - 3:20
    ซึ่งตรงนี้มีนำแข็งอยู่ และวางลงไปบนพื้น
  • 3:20 - 3:26
    แล้วเราจะลองมาพิจารณากันอีกครั้งว่า ถ้าไม่มีแรงมากระทำที่น้ำแข็ง ก้อนน้ำแข็งจะไม่เลื่อน
  • 3:26 - 3:32
    แต่เกิดอะไรขึ้นถ้าผมดันด้วยแรงค่าหนึ่งทางด้านนี้
  • 3:32 - 3:35
    และคุณก็ดันอีกทางด้านหนึ่งด้วยแรงที่เท่ากัน
  • 3:35 - 3:37
    น้ำแข็งจะยังคงอยู่กับที่ ไม่เลื่อน
  • 3:37 - 3:40
    ดังนั้นตรงนี้ เราจะเรียกว่า "แรงสมดุล"
  • 3:40 - 3:42
    "แรงสมดุล"
  • 3:42 - 3:51
    แต่ถ้าแรงที่มากระทำไม่เป็นแรงสมดุล
  • 3:51 - 3:58
    ด้วยการเปลี่ยนแรงทางด้านนี้ไปนิดหน่อยโดยมากกว่าแรงอีกด้าน
  • 3:58 - 4:04
    คุณจะเห็นว่านำแข็งเริ่มเคลื่อนที่ด้วยความเร่งในทิศทางนี้
  • 4:04 - 4:09
    ซึ่งนี้ชัดเจนอยู่แล้ว ที่จะอธิบายสภาวะของวัตถุที่อยู่กับที่ ตราบจนมีแรงมากระทำ
  • 4:09 - 4:11
    ด้วยแรงที่ไม่สมดุล
  • 4:11 - 4:17
    ความคิดที่ว่าวัตถุมีการเคลื่อนที่ไปอย่างสม่ำเสมอ อาจยังไม่ชัดเจน
  • 4:17 - 4:21
    ซึ่งเราจะกล่าวได้อีกทางหนึ่งว่า วัตถุนั้นเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
  • 4:21 - 4:23
    ค่าความเร็วที่คงที่
  • 4:23 - 4:30
    ซึ่งนิวตันกล่าวว่า วัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่จะเป็นยังคงเคลื่อนที่อย่างนั้นต่อไป
  • 4:30 - 4:33
    ตราบจนมันมีแรงมากระทำ
  • 4:33 - 4:38
    และนี้จะดูง่ายกว่า เพราะว่าทุกสิ่งทุกอย่างเป็นประสบการณ์ของมนุษย์เอง
  • 4:38 - 4:43
    สมมติว่าถ้า เราดันก้อนน้ำแข็ง ท้ายที่สุดมันอาจจะหยุด
  • 4:43 - 4:47
    มันจะไม่เคลื่อนที่ต่อไป สมมติว่านี้เป็นพื้นน้ำแข็งที่ไกลมากๆ
  • 4:47 - 4:57
    ก้อนน้ำแข็งนี้สุดท้ายมันจะหยุดลง หรือถ้าเราลองขว้างลูกเทนนิส ลูกเทนนิสก็จะหยุดลงเช่นกัน
  • 4:57 - 5:05
    มันจะหยุดชะงัก หรือหมุนกลิ้ง หรือจะอะไรก็ตาม
  • 5:05 - 5:10
    เราจะไม่เห็น อย่างน้อยในประสบการณ์มนุษย์ ซึ่งมันอาจจะดูราวว่าหยุดก็ได้
  • 5:10 - 5:14
    ดังนั้นเราจะกล่าวง่ายๆว่า การเคลื่อนที่มันจะยังคงเคลื่อนที่อยู่อย่างนั้น
  • 5:14 - 5:20
    ด้วยสัญชาตญาณของมนุษย์แล้ว ถ้าคุณต้องการให้วัตถุมันยังคงเคลื่อนที่อยู่
  • 5:20 - 5:24
    คุณต้องให้แรงไปเรื่อยๆ พลังงานไปเรื่อยๆ เพื่อที่จะให้มันยังคงเคลื่อนที่ได้
  • 5:24 - 5:31
    รถของคุณจะไปไม่ได้ ถ้าหากเครื่องยนต์ไม่ได้เผาพลาญเชื้อเพลิง หรือน้ำมันเข้าไปเป็นพลังงาน
  • 5:31 - 5:33
    ซึ่งอะไรล่ะที่เราจะคุยกันต่อ
  • 5:33 - 5:37
    ในตัวอย่างที่กล่าวมานั้น ผมคิดว่าเป็นสิ่งที่เข้าใจได้ง่าย
  • 5:37 - 5:41
    ซึ่งเป็นสิ่งทีอยู่กับคุณตลอดเวลา
  • 5:41 - 5:45
    ลูกบอลอาจจะยังคงเคลื่อนที่ตลอด ก้อนน้ำแข็งอาจจะยังไม่หยุด
  • 5:45 - 5:50
    ยกเว้นว่ามีแรงที่ไม่สมดุลมากระทำ เพื่อให้มันหยุด
  • 5:50 - 5:54
    ในกรณีของก้อนน้ำแข็ง ถึงแม้ว่าก้อนน้ำแข็งมีแรงเสียดทานไม่มาก
  • 5:54 - 5:57
    แต่มันก็มีผลระหว่างผิวสัมผัสทั้งสอง
  • 5:57 - 6:01
    และในสถานการณ์นั้นที่มีแรงมากระทำ
  • 6:01 - 6:04
    โดยมีทิศทางต่อต้านการเคลื่อนที่ของก้อนน้ำแข็ง
  • 6:04 - 6:07
    และการต้านทานนั้นแท้จริงมาจากสิ่งที่อยู่ในระดับที่เล็กมาก คือในระดับอะตอม
  • 6:07 - 6:13
    ซึ่งถ้าคุณศึกษาสิ่งที่เกิดขึ้นในโครงสร้างโมเลกุลของน้ำที่เรียกว่า โครงสร้างแลตติส ในก้อนน้ำแข็ง
  • 6:13 - 6:21
    และนี้เป็นโมลเกุลของน้ำที่มีโครงสร้างแบบแลตติส ของทุ่งน้ำแข็งที่เราจะไปลองศึกษา
  • 6:21 - 6:23
    มันดูคล้ายกับการชนและบดลงไปในแต่ละส่วนของผิวสัมผัสนั้น
  • 6:23 - 6:25
    ถึงว่าทั้งคู่จะมีผิวเรียบก็ตามที
  • 6:25 - 6:28
    การบดการชนของโมเลกุลที่เกิดขึ้น ก็ทำให้เกิดความร้อนเล็กน้อยขึ้นได้
  • 6:28 - 6:33
    และจะยังคงมีไปตลอดระหว่างที่เคลื่อนที่ไป
  • 6:33 - 6:37
    และนี้ก็เป็นเหตุผลที่ว่าทำไม หากมีแรงเสียดทานมากระทำวัตถุจึงกำลังหยุด
  • 6:37 - 6:39
    และไม่เพียงแต่แรงเสียดทานเท่านั้น ยังมีความต้านทาน
  • 6:39 - 6:43
    ของก้อนน้ำแข็งที่โมเลกุลมันไปชนกับโมเลกุลของอากาศ
  • 6:43 - 6:47
    ซึ่งเราไม่ได้คิดไว่แต่แรก แต่มันได้ถูกนิยามไว้ว่าจะเกิดขึ้นตลอดการเคลื่อนที่ที่เกิดขึ้นตลอด
  • 6:47 - 6:50
    เช่นเดียวกันกับลูกบอลที่ลอยอยู่ในอากาศ
  • 6:50 - 6:54
    ชัดเจนว่ามันจะต้องตกลงพื้น ดังนั้นแน่นอนว่ามีแรงมากระทำมัน
  • 6:54 - 6:59
    แต่เหตุการณ์ที่ตกสู่พื้นนั้น ลูกบอลไม่ได้กลิ้งไปตลอด เพราะผลจากการเสียดทาน
  • 6:59 - 7:05
    คุณรู้ไหมว่าสนามหญ้าตรงนี้หยุดลูกบอลได้
  • 7:05 - 7:09
    และในขณะที่มันลอยในอากาศ มันจะล่วงลงพื้นอย่างช้าๆ และมันไม่ได้ตกลงพื้นด้วยความเร็วที่คงที่
  • 7:09 - 7:14
    เพราะว่า การต้านทานจากอากาศเป็นส่วนประกอบ
  • 7:14 - 7:18
    และทำให้มันช้าลงได้
  • 7:18 - 7:22
    ดังนั้นสิ่งที่เป็นจริงเกี่ยวกับคนที่ยอดเยี่ยมเหล่านี้เป็นสิ่งที่พวกเขาอาจจินตนาการถึงความเป็นจริงอยู่แล้วก็ได้
  • 7:22 - 7:28
    ซึ่งที่ใดไม่มีแรงโน้มถ่วง ที่นั่นย่อมไม่มีแรงต้านในอากาศในการทำให้วัตถุล่วงช้าลง
  • 7:28 - 7:34
    และพวกเขาจินตนการว่าสิ่งที่เป็นจริงอาจจะยังคงเป็นสิ่งที่ต้านการเคลื่อนที่ของมันเอง
  • 7:34 - 7:38
    และนี้เป็นเหตุผลที่ว่าทำไม แนวคิดกาลิเลโอมีความตรงไปตรงมา
  • 7:38 - 7:41
    ซึ่ง คือการที่เขาได้ศึกษาวงโคจรของดาวเคราะห์
  • 7:41 - 7:46
    และบางทฤษฎีนั้นที่ว่าอาจไม่มีอากาศ
  • 7:46 - 7:50
    และอาจเป็นเหตุผลว่าทำไมดาวเคราะห์ถึงหมุนไปรอบๆและโคจรในวงโครจรอย่างนั้น
  • 7:50 - 7:56
    และผมควรจะบอกว่า ความเร็วของดาวเคราะห์นั้นเปลี่ยน เพราะมีการเปลี่ยนทิศทางของมันเอง
  • 7:56 - 8:02
    ความเร็วของมันไม่เคยลดลง เพราะที่นั้นไม่มีที่ว่างที่จะให้เกิดความเร็วที่ต่ำลงได้ในหมุ่ดาวเหล่านั้น
  • 8:02 - 8:05
    อีกอย่างหนึ่ง ผมหวังว่าคุณจะพบสิ่งที่น่าสนใจอย่างที่ผมเจอ
  • 8:05 - 8:09
    เพราะว่าบางระดับมันอาจชัดเจน แต่ไม่ได้ชัดทุกระดับทั้งหมด
  • 8:09 - 8:12
    โดยเฉพาะ "การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงอย่างสม่ำเสมอ"
  • 8:12 - 8:17
    และเพื่อความเข้าใจที่ดี สมมติว่าถ้าแรงโน้มถ่วงไม่ได้ปรากฏ และเราไม่มีอากาศ
  • 8:17 - 8:22
    และคุณขว้างลูกบอลออกไป ลูกบอลอาจจะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงออกไป
  • 8:22 - 8:27
    ถ้าไม่มีแรงไม่สมดุลมากระทำ หรือบังคับมันให้หยุด
  • 8:27 - 8:32
    อีกนัยหนึ่งมันเป็นตัวอย่างที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน
  • 8:32 - 8:42
    คือ ถ้าผมอยู่ในเครื่องบิน แล้วมันเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
  • 8:42 - 8:43
    และไม่มีอะไรเกิดกับเครื่องบิน
  • 8:43 - 8:51
    แล้วถ้าผมนั่งบนเครื่องบินด้านขวาตรงนี้ และมันเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
  • 8:51 - 8:53
    ไปอย่างราบรื่น ไม่สะดุด ไม่มีการกระตุกของเครื่องบิน
  • 8:53 - 8:58
    มันไม่มีทางที่ผมจะบอกได้ว่ามีการเคลื่อนที่เกิดขึ้นกับเครื่องบิน ถ้าไม่มองออกไปนอกหน้าต่าง
  • 8:58 - 9:01
    ลองสมมติว่าไม่มีหน้าต่างบนเครื่องบิน และมันยังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงทีอยู่
  • 9:01 - 9:07
    และไม่มีความวุ่นวายใดๆเกิดบนเครื่อง และบอกได้ว่าไม่ได้ยินเสียงอะไรเลย
  • 9:07 - 9:09
    ซึ่งผมไม่ได้ยินแม้แต่เสียงเครื่อง
  • 9:09 - 9:11
    ไม่มีทางที่ผมจะบอกได้ว่าเครื่องบินเคลื่อนที่อยู่
  • 9:11 - 9:15
    เพราะว่าสิ่งที่ผมอ้างอิงจะมีลักษณะที่เหมือนกันอย่างสมบูรณ์ นั้นคือเสียงเครื่องที่ไม่ได้ยิน และ ไม่มีหน้าต่างให้มองออกไปได้
  • 9:15 - 9:19
    เพราะถ้าผมอยู่ในระนาบเดียวกันเช่นบนพื้นโลก
  • 9:19 - 9:24
    และนี้เป็นวิธีคิดที่ง่ายกว่าในสภาวะเดียวกัน
  • 9:24 - 9:28
    การเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่หรืออยู่นิ่งๆ
  • 9:28 - 9:31
    คุณไม่สามารถบอกได้ว่าคุณอยู่กับที่หรืออยู่ในที่อื่นๆได้
Title:
เรื่อง กฏข้อที่ 1 ของนิวตัน
Description:

Newton's First Law (Galileo's Law of Inertia).

more » « less
Video Language:
English
Duration:
09:32
translate added a translation

Thai subtitles

Revisions