WEBVTT 00:00:00.800 --> 00:00:03.017 ลองดูตัวอย่างกันดีกว่า 00:00:03.017 --> 00:00:07.036 แค่ให้เรามั่นใจว่าเราเข้าใจฟังก์ชันตรีโกณฯ นี่ดีพอ 00:00:07.036 --> 00:00:11.447 ลองสร้างสามเหลี่ยมมุมฉากขึ้นมา 00:00:11.447 --> 00:00:13.668 ลองสร้างสามเหลี่ยมมุมฉากขึ้นมา 00:00:13.668 --> 00:00:15.186 ผมอยากให้มันชัดเจน 00:00:15.186 --> 00:00:18.042 วิธีที่ผมนิยามมันขึ้นมา, มันใช้ได้กับสามเหลี่ยมมุมฉากเท่านั้น 00:00:18.042 --> 00:00:23.475 หากคุณพยายามหาฟังก์ชันตรีโกณฯ ของมุมที่ไม่ได้อยู่ในสามเหลี่ยมมุมฉาก, 00:00:23.475 --> 00:00:25.704 เราจะเห็นว่าเราต้องสร้างสามเหลี่ยมมุมฉากก่อน, 00:00:25.704 --> 00:00:27.867 แต่ตอนนี้ดูแค่สามเหลี่ยมมุมฉากก่อนนะ 00:00:27.867 --> 00:00:31.344 สมมุติว่าผมมีสามเหลี่ยม 00:00:31.344 --> 00:00:33.897 โดยสมมุติว่าความยาวนี่ตรงนี้คือ 7, 00:00:33.897 --> 00:00:37.757 และสมมุติว่าความยาวด้านนี่บนนี้, 00:00:37.757 --> 00:00:39.452 สมมุติว่ายาว 4 00:00:39.452 --> 00:00:42.516 ลองหาว่าด้านตรงข้ามมุมฉากเป็นเท่าไหร่ 00:00:42.516 --> 00:00:45.720 เรารู้ว่า -- เรียกด้านตรงข้ามมุมฉากว่า 'h' แล้วกัน -- 00:00:45.720 --> 00:00:52.200 เรารู้ว่า h กำลังสอง จะเท่ากับ 7 กำลังสอง บวก 4 กำลังสอง 00:00:52.200 --> 00:00:55.194 เรารู้มาจากทฤษฎีบทปีทาโกรัส 00:00:55.194 --> 00:00:57.469 ว่าด้านตรงข้ามมุมฉากกำลังสอง เท่ากับ 00:00:57.469 --> 00:01:01.974 กำลังสองของแต่ละด้าน ผลรวมของแต่ละด้านที่เหลือกำลังสอง 00:01:01.974 --> 00:01:04.533 h กำลังสอง เท่ากับ 7 กำลังสอง บวก 4 กำลังสอง 00:01:04.533 --> 00:01:09.776 นี่ก็เท่ากับ 49 บวก 16 00:01:09.776 --> 00:01:11.800 49 บวก 16 00:01:11.800 --> 00:01:18.553 49 บวก 10 คือ 49, บวก 6 ได้ 65 00:01:18.553 --> 00:01:21.107 มันคือ 65 00:01:21.107 --> 00:01:25.705 ขอผมเขียนลงไปนะ: h กำลังสอง -- นั่นคืดสีเหลืองอีกแบบนึง -- 00:01:25.705 --> 00:01:28.818 เราได้ h กำลังสอง เท่ากับ 65 00:01:28.818 --> 00:01:33.533 ผมทำถูกไหม? 49 บวก 10 ได้ 59, บวก 6 อีก ได้ 65, 00:01:33.533 --> 00:01:37.600 หรือเราอาจบอกว่า h เท่ากับ, หากเราใส่สแควร์รูททั้งสองข้าง, 00:01:37.600 --> 00:01:39.200 สแควร์รูท 00:01:39.200 --> 00:01:42.933 สแควร์รูทของ 65 แล้วเราทำต่อไปไม่ได้อีก 00:01:42.933 --> 00:01:44.699 นี่คือ 13 00:01:44.699 --> 00:01:47.463 นี่เหมือนกับ 13 คูณ 5, 00:01:47.463 --> 00:01:50.388 ทั้งสองตัวนี้ไม่ใช่กำลังสองสมบูรณ์ และ 00:01:50.388 --> 00:01:51.804 ทั้งคู่ก็เป็นจำนวนเฉพาะ คุณเลยลดรูปมันอีกไม่ได้แล้ว 00:01:51.804 --> 00:01:55.467 นี่เลยเท่ากับสแควร์รูทของ 65 00:01:55.467 --> 00:02:02.114 ทีนี้ลองหาตรีโกณฯ, ลองหาฟังก์ชันตรีโกณฯ สำหรับมุมนี่ตรงนี้กัน 00:02:02.114 --> 00:02:05.457 เรียกมุมบนนี้ว่า ทีต้า นะ 00:02:05.457 --> 00:02:06.533 เมื่อไหร่ก็ตามที่คุณทำ 00:02:06.533 --> 00:02:09.467 คุณควรเขียนลงไป -- อย่างน้อยสำหรับผม ควรเขียนลงไป -- 00:02:09.467 --> 00:02:11.714 "SOH CAH TOA" 00:02:11.714 --> 00:02:13.120 SOH... 00:02:13.120 --> 00:02:16.464 ...SOH CAH TOA ผมจำได้เลือนราง 00:02:16.464 --> 00:02:18.786 จากครูสอนตรีโกณมิติของผม 00:02:18.786 --> 00:02:21.293 บางทีผมอาจจำมาจากหนังสือ ไม่รู้สิ -- คุณก็รู้, พวก... 00:02:21.293 --> 00:02:23.867 เจ้าชายอินเดียชื่อ "SOH CAH TOA" หรืออะไรก็ช่าง, 00:02:23.867 --> 00:02:26.123 แต่มันวลีช่วยจำที่มีประโยชน์, 00:02:26.123 --> 00:02:27.564 เราก็ใช้ "SOH CAH TOA" 00:02:27.564 --> 00:02:31.046 ลองหา, สมมุติว่าเราอยากหาโคไซน์ 00:02:31.046 --> 00:02:34.436 เราอยากหาโคไซน์ของมุมนี้ 00:02:34.436 --> 00:02:37.965 เราอยากหาโคไซน์ของมุมนี้, คุณก็บอกว่า "SOH CAH TOA!" 00:02:37.965 --> 00:02:40.800 งั้น "CAH", "CAH" บอกเราว่าจะคิดโคไซน์ยังไง 00:02:40.800 --> 00:02:43.027 "CAH" บอกเราว่า 00:02:43.027 --> 00:02:46.371 โคไซน์คือด้านประชิดส่วนด้านตรงข้ามมุมฉาก 00:02:46.371 --> 00:02:51.433 โคไซน์เท่ากับด้านประชิดส่วนด้านตรงข้ามมุมฉาก 00:02:51.433 --> 00:02:55.798 ลองดูตรงนี้ที่ทีต้า, ด้านไหนคือด้านประชิด? 00:02:55.798 --> 00:02:57.702 เรารู้ว่าด้านตรงข้ามมุมฉาก, 00:02:57.702 --> 00:03:00.767 เรารู้ว่าด้านตรงข้ามมุมฉากคือด้านนี่ตรงนี้ 00:03:00.767 --> 00:03:04.761 มันเป็นด้านนั้นไม่ได้ อีกด้านก็อยู่ชิดกับมัน เลยไม่ใช่ 00:03:04.761 --> 00:03:07.133 ด้านตรงข้ามมุมฉาก, คือ 4 นี่ 00:03:07.133 --> 00:03:10.473 ดังนั้นด้านประชิดตรงนี้, ด้านนั่น, 00:03:10.473 --> 00:03:14.374 มันก็คือด้านที่ติดกับมุม 00:03:14.374 --> 00:03:15.754 มันคือด้านด้านหนึ่งที่ประกอบเป็นมุม 00:03:15.754 --> 00:03:17.133 มันคือ 4 ส่วนด้านตรงข้ามมุมฉาก 00:03:17.133 --> 00:03:21.108 เรารู้แล้วว่าด้านตรงข้ามมุมฉากคือสแควร์รูทของ 65 00:03:21.108 --> 00:03:25.380 มันก็คือ 4 ส่วนสแควร์รูทของ 65 00:03:25.380 --> 00:03:29.142 บางครั้งคนชอบให้คุณทำส่วนเป็นตรรกยะ ซึ่งหมายความว่า 00:03:29.142 --> 00:03:32.625 เขาไม่ชอบให้เลขอตรรกยะอยู่เป็นตัวส่วน 00:03:32.625 --> 00:03:35.227 อย่างเช่นสแควร์รูทของ 65 00:03:35.227 --> 00:03:39.359 และหากเขา -- หากคุณอยากเขียนนี่ใหม่โดยไม่ให้ตัวส่วนเป็นอตรรกยะ, 00:03:39.359 --> 00:03:41.634 คุณก็คูณทั้งเศษและส่วน 00:03:41.634 --> 00:03:43.306 ด้วยสแควร์รูทของ 65 00:03:43.306 --> 00:03:45.094 นี่จะไม่เปลี่ยนค่าตัวเลช 00:03:45.094 --> 00:03:48.122 เพราะเราคูณมันด้วย อะไรสักอย่างส่วนตัวเอง, 00:03:48.122 --> 00:03:49.111 มันเลยเหมือนคุณด้วยหนึ่ง 00:03:49.111 --> 00:03:52.780 มันไม่เปลี่ยนเลข, แต่อย่างน้อยมันกำจัดเลขอตรรกยะในตัวส่วน 00:03:52.780 --> 00:03:54.127 ตัวเศษจะกลายเป็น 00:03:54.127 --> 00:03:57.800 4 คูณสแควร์รูทของ 65 00:03:57.800 --> 00:04:03.461 และตัวส่วน, สแควร์รูทของ 65 คูณสแควร์รูทของ 65, จะเท่ากับ 65 00:04:03.461 --> 00:04:07.130 เราไม่ได้กำจัดเลขอตรรกยะ, มันยังอยู่, แต่ตอนนี้มันอยู่ที่ตัวเศษ 00:04:07.130 --> 00:04:09.777 ทีนี้ลองดูฟังก์ชันตรีโกณฯ อื่น 00:04:09.777 --> 00:04:12.401 หรืออย่างน้อยก็ฟังก์ชันตรีโกณฯ พื้นฐานตัวอื่นกัน 00:04:12.401 --> 00:04:14.399 เราจะเรียนต่อไปว่ามันยังมีอีกเยอะ 00:04:14.399 --> 00:04:15.443 แต่พวกมันมาจากเจ้าพวกนี้ 00:04:15.443 --> 00:04:19.733 ลองนึกว่าไซน์ของทีต้าคืออะไร เหมือนเดิม ดูที่ "SOH CAH TOA" 00:04:19.733 --> 00:04:25.474 "SOH" บอกวิธีจัดการไซน์ ไซน์คือ ตรงข้าม ส่วน ตรงข้ามมุมฉาก 00:04:25.474 --> 00:04:29.200 ไซน์เท่ากับด้านตรงข้ามส่วนด้านตรงข้ามมุมฉาก 00:04:29.200 --> 00:04:31.372 ไซน์คือ ข้าม ส่วน ฉาก 00:04:31.372 --> 00:04:34.390 สำหรับมุมนี้ ด้านไหนคือด้านตรงข้าม? 00:04:34.390 --> 00:04:38.430 เราแค่ไปตรงข้าม, มันเปิดไปหา, มันตรงข้ามกับ 7 00:04:38.430 --> 00:04:41.200 งั้นด้านตรงข้ามคือ 7 00:04:41.200 --> 00:04:44.468 นี่คือ, ตรงนี้ -- นั่นคือด้านตรงข้าม 00:04:44.468 --> 00:04:47.800 แล้วด้านตรงข้ามมุมฉาก, มันอยู่ตรงข้ามมุมฉาก 00:04:47.800 --> 00:04:51.109 ด้านตรงข้ามมุมฉากคือ สแควร์รูทของ 65 00:04:51.109 --> 00:04:52.966 สแควร์รูทของ 65 00:04:52.966 --> 00:04:55.133 เหมือนเดิม หากเราทำส่วนเป็นจำนวนตรรกยะ, 00:04:55.133 --> 00:04:59.933 เราก็คูณมันด้วยสแควร์รูทของ 65 ส่วนสแควร์รูทของ 65 00:04:59.933 --> 00:05:04.298 และตัวเศษ, เราจะได้ 7 ส่วนสแควร์รูทของ 65 00:05:04.298 --> 00:05:07.966 แล้วตัวส่วน เราจะได้ 65 เหมือนเดิม 00:05:07.966 --> 00:05:10.474 ทีนี้ลองทำแทนเจนต์กัน! 00:05:10.474 --> 00:05:12.796 ลองหาแทนเจนต์กัน 00:05:12.796 --> 00:05:14.793 หากผมถามคุณว่าแทนเจนต์ 00:05:14.793 --> 00:05:17.394 แทนเจนต์ของทีต้า 00:05:17.394 --> 00:05:20.784 เหมือนเดิม กลับไปที่ "SOH CAH TOA" 00:05:20.784 --> 00:05:23.106 TOA บอกเราว่าทำยังไงกับแทนเจนต์ 00:05:23.106 --> 00:05:24.800 มันบอกเราว่า... 00:05:24.800 --> 00:05:27.053 มันบอกเราว่าแทนเจนต์ 00:05:27.053 --> 00:05:29.867 เท่ากับด้านตรงข้าม ส่วนด้านประชิด 00:05:29.867 --> 00:05:33.137 เท่ากับด้านตรงข้าม ส่วน 00:05:33.137 --> 00:05:35.867 ด้านตรงข้าม ส่วน ด้านประชิด 00:05:35.867 --> 00:05:38.709 สำหรับมุมนี้, ด้านตรงข้ามคืออะไร? เราหาไปแล้ว 00:05:38.709 --> 00:05:41.124 มันคือ 7, มันเปิดหาด้าน 7 00:05:41.124 --> 00:05:42.533 มันตรงข้ามกับ 7 00:05:42.533 --> 00:05:46.372 มันก็คือ 7 ส่วนด้วย ด้านไหนคือด้านประชิด 00:05:46.372 --> 00:05:48.200 4 นี่คือด้านประชิด 00:05:48.200 --> 00:05:51.295 4 นี่คือชิด ด้านประชิดก็คือ 4 00:05:51.295 --> 00:05:54.330 มันเลยเป็น 7 ส่วน 4, 00:05:54.330 --> 00:05:56.133 แล้วเราก็ได้แล้ว 00:05:56.133 --> 00:05:59.375 เราหาอัตราส่วนตรีโกณฯ ทั้งหมดของทีต้าได้แล้ว ลองทำอีกอันนึง 00:05:59.375 --> 00:06:00.416 ลองดูอีกตัวอย่างนึง 00:06:00.416 --> 00:06:02.719 ผมจะทำให้มันชัดเจนกว่านี้หน่อย เพราะตอนนี้เราบอกว่า, 00:06:02.719 --> 00:06:06.434 "โอ้, แทนเจนต์ของ x คืออะไร แทนเจนต์ของทีต้าคืออะไร" ลองดูตัวอย่างที่เจาะจงกว่านี้ดีกว่า 00:06:06.434 --> 00:06:08.431 สมมุติว่า... 00:06:08.431 --> 00:06:10.799 สมมุติว่า, ขอผมวาดรูปสามเหลี่ยมมุมฉากอีกอันนึง 00:06:10.799 --> 00:06:13.772 นั่นคือสามเหลี่ยมมุมฉากอีกอันตรงนี้ 00:06:13.772 --> 00:06:17.533 ทุกอย่างที่เราสนใจ, นี่จะเป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก 00:06:17.533 --> 00:06:21.109 สมมุติว่าด้านตรงข้ามมุมฉากยาว 4, 00:06:21.109 --> 00:06:26.357 สมมุติว่าด้านนี่ตรงนี้ยาว 2, 00:06:26.357 --> 00:06:31.790 และสมมุติว่าความยาวตรงนี้เป็น 2 เท่าของสแควร์รูท 3 00:06:31.790 --> 00:06:33.462 เราทดสอบได้ว่ามันจริงหรือเปล่า 00:06:33.462 --> 00:06:36.467 หากคุณเอาด้านนี้กำลังสอง, แล้วได้ -- ขอผมเขียนลงไปนะ -- 00:06:36.467 --> 00:06:38.803 2 คูณสแควร์รูทของ 3 กำลังสอง 00:06:38.803 --> 00:06:42.471 บวก 2 กำลังสอง, เท่ากับอะไร? 00:06:42.471 --> 00:06:46.467 นี่คือ 2 มันจะได้ 4 คูณ 3 00:06:46.467 --> 00:06:49.763 4 คูณ 3 บวก 4, 00:06:49.763 --> 00:06:53.478 นี่จะเท่ากับ 12 บวก 4 เท่ากับ 16 00:06:53.478 --> 00:06:57.800 และ 16 ก็คือ 4 กำลังสอง นี่ก็เท่ากับ 4 กำลังสอง 00:06:57.800 --> 00:07:01.790 มันเท่ากับ 4 กำลังสอง มันเลยเป็นไปตามทฤษฎีบทปีทาโกรัส 00:07:01.790 --> 00:07:06.133 หากคุณจำที่คุณทำไว้ทำสามเหลี่ยม 30 60 90 00:07:06.133 --> 00:07:07.781 คุณอาจเรียนในเรขาคณิต 00:07:07.781 --> 00:07:11.450 คุณอาจจำได้ว่านี่คือ สามเหลี่ยม 30 60 90 00:07:11.450 --> 00:07:13.133 นี่ตรงนี้คือสามเหลี่ยมมุมฉาก, 00:07:13.133 --> 00:07:15.867 ผมควรวาดมันจากตรงนี้เพื่อให้เห็นว่านี่คือสามเหลี่ยมมุมฉาก -- 00:07:15.867 --> 00:07:20.366 มุมนี่ตรงนี้ คือมุม 30 องศา 00:07:20.366 --> 00:07:23.385 และมุมนี่ตรงนี้, มุมนี่บนนี้คือ 00:07:23.385 --> 00:07:26.125 60 องศา, 00:07:26.125 --> 00:07:27.797 และมันคือ 30 60 90 เพราะ 00:07:27.797 --> 00:07:31.791 ด้านตรงข้ามมุม 30 องศา เป็นครึ่งหนึ่งของด้านตรงข้ามมุมฉาก 00:07:31.791 --> 00:07:36.800 และด้านตรงข้ามมุม 60 องศา เป็น สแควร์รูท 3 เท่าของอีกด้าน 00:07:36.800 --> 00:07:38.432 ที่ไม่ใช่ด้านตรงข้ามมุมฉาก 00:07:38.432 --> 00:07:40.159 ตามที่บอก, เราจะไม่ -- 00:07:40.159 --> 00:07:43.415 นี่ไม่ใช่การทบทวนสามเหลี่ยม 30 60 90 องศา แม้ว่าผมเพิ่งทำไป 00:07:43.415 --> 00:07:46.933 ลองหาอัตราส่วนตรีโกณฯ สำหรับมุมต่าง ๆ กัน 00:07:46.933 --> 00:07:51.295 หากผมถามคุณ หรือใครก็ตามถามคุณว่า 00:07:51.295 --> 00:07:54.639 ไซน์ของ 30 องศาเป็นเท่าไหร่? 00:07:54.639 --> 00:07:58.447 จำไว้ว่า 30 องศาเป็นหนึ่งในมุมของสามเหลี่ยมนี้ แต่มันใช้ได้ 00:07:58.447 --> 00:08:01.698 เมื่อใดก็ตามที่คุณมีมุม 30 องศา และคุณยุ่งกับสามเหลี่ยมมุมฉาก 00:08:01.698 --> 00:08:05.135 เราจะได้นิยามที่ทั่วไปกว่านี้ในอนาคต แต่หากคุณบอกว่า ไซน์ของ 30 องศา, 00:08:05.135 --> 00:08:09.035 เฮ้, มุมนี่ตรงนี้คือ 30 องศา ผมเลยใช้สามเหลี่ยมมุมฉากนี่ 00:08:09.035 --> 00:08:12.133 เราแค่ต้องจำ "SOH CAH TOA" 00:08:12.133 --> 00:08:17.116 เราเขียนมันใหม่ SOH, CAH, TOA 00:08:17.116 --> 00:08:22.782 "ไซน์บอกเรา" (แก้ไข) SOH บอกเราว่าให้ทำยังไงกับไซน์ ไซน์คือตรงข้ามส่วนตรงข้ามมุมฉาก 00:08:22.782 --> 00:08:26.358 ไซน์ของ 30 องศา คือด้านตรงข้าม, 00:08:26.358 --> 00:08:30.723 นั่นคือด้านตรงข้าม เท่ากับ 2 ส่วนด้านตรงข้ามมุมฉาก 00:08:30.723 --> 00:08:32.395 ด้านตรงข้ามมุมฉาก คือ 4 00:08:32.395 --> 00:08:35.646 มันคือ 2 ส่วน 4 ซึ่งเท่ากับ ครึ่งหนึ่ง พอดี 00:08:35.646 --> 00:08:40.800 ไซน์ของ 30 องศา คุณจะเห็นว่าเท่ากับ ครึ่งหนึ่ง พอดี 00:08:40.800 --> 00:08:44.144 ทีนี้โคไซน์เป็นเท่าไหร่? 00:08:44.144 --> 00:08:46.867 โคไซน์ของ 30 องศา คืออะไร? 00:08:46.867 --> 00:08:50.135 เหมือนเดิม กลับไปที่ "SOH CAH TOA" 00:08:50.135 --> 00:08:52.643 CAH บอกเราว่าทำยังไงกับโคไซน์ 00:08:52.643 --> 00:08:56.033 โคไซน์คือ ประชิด ส่วน ตรงข้ามมุมฉาก 00:08:56.033 --> 00:08:59.051 เมื่อดูจากมุม 30 องศา มันคือด้านประชิด 00:08:59.051 --> 00:09:01.791 นี่, ใช่, ตรงนี้คือด้านประชิด มันอยู่ติดกัน 00:09:01.791 --> 00:09:05.467 มันไม่ใช่ด้านตรงข้ามมุมฉาก มันคือด้านประชิดส่วนด้านตรงข้ามมุมฉาก 00:09:05.467 --> 00:09:09.129 มันเลยเป็น 2 สแควร์รูท 3 00:09:09.129 --> 00:09:13.633 ประชิดส่วน... ส่วนด้านตรงข้ามมุมฉาก, ส่วน 4 00:09:13.633 --> 00:09:16.977 หรือหากเราจัดรูป, เราหารทั้งเศษและส่วนด้วย 2 00:09:16.977 --> 00:09:20.646 มันคือสแควร์รูทของ 3 ส่วน 2 00:09:20.646 --> 00:09:22.782 สุดท้าย, ลองหาแทนเจนต์กัน 00:09:22.782 --> 00:09:27.800 แทนเจนต์ของ 30 องศา, 00:09:27.800 --> 00:09:30.305 เรากลับไปที่ "SOH CAH TOA" 00:09:30.305 --> 00:09:31.699 SOH CAH TOA 00:09:31.699 --> 00:09:34.800 TOA บอกเราว่าทำยังไงกับแทนเจนต์ มันคือตรงข้าม ส่วนประชิด 00:09:34.800 --> 00:09:38.804 คุณก็ไปที่ มุม 30 องศา เพราะนั่นคือสิ่งที่เราสนใจ, แทนเจนต์ของ 30 00:09:38.804 --> 00:09:42.101 แทนเจนต์ของ 30 ตรงข้ามคือ 2 00:09:42.101 --> 00:09:46.200 ตรงข้ามคือ 2 และประชิดคือ 2 สแควร์รูทของ 3 00:09:46.200 --> 00:09:48.045 มันอยู่ติดกัน มันประชิดกับมุมนั้น 00:09:48.045 --> 00:09:49.439 ประชิดหมายถึงติดกัน 00:09:49.439 --> 00:09:52.039 งั้น 2 สแควร์รูทของ 3 00:09:52.039 --> 00:09:54.454 นี่ก็เท่ากับ,,, 2 ตัดกัน 00:09:54.454 --> 00:09:56.776 1 ส่วนสแควร์รูท 3 00:09:56.776 --> 00:10:00.723 หรือเราอาจคูณทั้งเศษและส่วนด้วยสแควร์รูท 3 00:10:00.723 --> 00:10:05.367 เราก็ได้สแควร์รูท 3 ส่วนสแควร์รูท 3 00:10:05.367 --> 00:10:08.804 แล้วนี่จะเท่ากับตัวเศษ สแควร์รูท 3 แล้ว 00:10:08.804 --> 00:10:12.473 ตัวส่วนตรงนี้จะเป็น 3 00:10:12.473 --> 00:10:15.800 นั่นคือเราได้ทำส่วนเป็นตรรกยะ ได้ สแควร์รูทของ 3 ส่วน 3 00:10:15.800 --> 00:10:17.442 ใช้ได้ 00:10:17.442 --> 00:10:20.693 ทีนี้ลองใช้สามเหลี่ยมเดิมนี้ หาอัตราส่วนตรีโกณฯ ของมุม 60 องศา 00:10:20.693 --> 00:10:22.457 เพราะเราวาดมันไปแล้ว 00:10:22.457 --> 00:10:28.328 ทีนี้อะไร... ไซน์ของ 60 องศาคืออะไร? 00:10:28.328 --> 00:10:30.166 ผมว่าคุณคงเริ่มคุ้นแล้ว 00:10:30.166 --> 00:10:34.253 ไซน์คือ ข้าม ส่วน ชิด SOH มาจาก "SOH CAH TOA" 00:10:34.253 --> 00:10:36.668 สำหรับมุม 60 องศา ด้านไหนคือด้านตรงข้าม? 00:10:36.668 --> 00:10:39.315 มันเปิดไปหา 2 สแควร์รูท 3 00:10:39.315 --> 00:10:42.566 ดังนั้นด้านตรงข้ามคือ 2 สแควร์รูทของ 3, 00:10:42.566 --> 00:10:45.306 จากมุม 60 องศา ประชิด โอ้ โทษที 00:10:45.306 --> 00:10:47.999 มันคือข้ามส่วนฉาก, ไม่อยากให้คุณงงเลย 00:10:47.999 --> 00:10:50.507 มันคือด้านตรงข้ามส่วนด้านตรงข้ามมุมฉาก 00:10:50.507 --> 00:10:54.315 มันก็คือ 2 สแควร์รูทของ 3 ส่วน 4, 4 คือด้านตรงข้ามมุมฉาก 00:10:54.315 --> 00:10:59.981 มันจะเท่ากับ, มันทอนลงเหลือสแควร์รูทของ 3 ส่วน 2 00:10:59.981 --> 00:11:05.507 แล้วโคไซน์ของ60 องศาล่ะ? โคไซน์ของ 60 องศา 00:11:05.507 --> 00:11:10.244 จำไว้ "soh cah toa" โคไซน์คือประชิดส่วนฉาก 00:11:10.244 --> 00:11:13.667 ประชิดมีสองด้าน, อันที่ติดกับมุม 60 องศา 00:11:13.667 --> 00:11:17.907 มันก็คือ 2 ส่วนด้านตรงข้ามมุมฉาก คือ 4 00:11:17.907 --> 00:11:20.972 นี่เลยเท่ากับ ครึ่งหนึ่ง 00:11:20.972 --> 00:11:24.176 แล้วสุดท้าย, แทนเจนต์คืออะไร? 00:11:24.176 --> 00:11:27.984 แทนเจนต์ของ 60 องศาคืออะไร? 00:11:27.984 --> 00:11:32.349 แทนเจนต์ "soh cah toa" แทนเจนต์คือ ข้าม ส่วน ชิด 00:11:32.349 --> 00:11:34.671 ตรงข้าม 60 องศา 00:11:34.671 --> 00:11:36.400 คือ 2 สแควร์รูทของ 3 00:11:36.400 --> 00:11:38.000 2 สแควร์รูท 3 00:11:38.000 --> 00:11:39.919 และที่ติดกัน 00:11:39.919 --> 00:11:42.733 ด้านประชิด คือ 2 00:11:42.733 --> 00:11:44.800 ประชิดกับมุม 60 องศา คือ 2 00:11:44.800 --> 00:11:48.650 งั้นตรงข้ามส่วนประชิด, 2 สแควร์รูทของ 3 ส่วน 2 00:11:48.650 --> 00:11:52.644 ซึ่งเท่ากับ สแควร์รูทของ 3 00:11:52.644 --> 00:11:54.641 ผมแค่อยากให้ - ดูว่ามันเกี่ยวข้องกันอย่างไร - 00:11:54.641 --> 00:11:57.984 ไซน์ของ 30 องศา เท่ากับโคไซน์ของ 60 องศา 00:11:57.984 --> 00:12:01.333 โคไซน์ของ 30 องศา เท่ากับไซน์ของ 60 องศา 00:12:01.333 --> 00:12:03.966 แล้วพวกนี้เป็นอินเวอร์สของกันและกัน 00:12:03.966 --> 00:12:05.635 ผมว่าหากคุณคิดถึงสามเหลี่ยมนี่หน่อย 00:12:05.635 --> 00:12:07.105 มันจะเริ่มเชื่อมโยงกันว่าทำไม 00:12:07.105 --> 00:12:08.461 เราจะทำพวกนี้ต่อ 00:12:08.461 --> 99:59:59.999 ให้คุณฝึกทำเยอะ ๆ ในวิดีโอต่อ ๆ ไป