1 00:00:00,000 --> 00:00:00,610 2 00:00:00,610 --> 00:00:08,850 ค่าประจำหลักของ 3 ใน 654.213 เป็นเท่าใด? 3 00:00:08,850 --> 00:00:10,200 ลองคิดกันหน่อย. 4 00:00:10,200 --> 00:00:13,110 เพื่อหาคำตอบ ขอผมเขียนเลขนี้ใหม่ และผมจะเขียน 5 00:00:13,110 --> 00:00:14,620 แต่ละหลักคนละสีกัน. 6 00:00:14,620 --> 00:00:31,760 เราก็มี 654 จุด -- เรามี จุดทศนิยม -- 213. 7 00:00:31,760 --> 00:00:34,610 ตอนนี้ ผมว่าเราคุ้นเคยกับ 8 00:00:34,610 --> 00:00:35,920 ทางซ้ายของทศนิยมแล้ว. 9 00:00:35,920 --> 00:00:38,670 เรารู้ว่าอันนี้ตรงนี้ -- ขอผมใช้ 10 00:00:38,670 --> 00:00:45,590 สีกลางๆ หน่อย -- คือหลักร้อย หรือเรามองมันเป็น 10 ยกกำลัง 11 00:00:45,590 --> 00:00:47,730 สองก็ได้. 12 00:00:47,730 --> 00:00:50,620 ขอผมเขียนให้ใหญ่หน่อยข้างล่างนี้. 13 00:00:50,620 --> 00:00:55,590 อันนี้ตรงนี้ก็คือ หลักร้อย หรือคุณ 14 00:00:55,590 --> 00:00:57,800 มองเป็น 10 กำลังสองก็ได้ ซึ่ง 15 00:00:57,800 --> 00:00:59,350 ก็เหมือนกับหนึ่งร้อย. 16 00:00:59,350 --> 00:01:03,100 อันนี้ตรงนี้คือหลักสิบ ซึ่งเท่ากับ 17 00:01:03,100 --> 00:01:08,030 10 ยกกำลังหนึ่ง. อันนี้ 18 00:01:08,030 --> 00:01:11,190 ตรงนี้เท่ากับ 10 ยกกำลังศูนย์. 19 00:01:11,190 --> 00:01:15,440 แล้วถ้าคุณไปหนึ่งหลักทางขวา ของจุดทศนิยม 20 00:01:15,440 --> 00:01:18,200 ค่านี้แทนหนึ่งในสิบ. 21 00:01:18,200 --> 00:01:25,910 นี่แทนหนึ่งในสิบ หรือเรา มองมันเป็น 10 ยกกำลัง 22 00:01:25,910 --> 00:01:27,170 ลบหนึ่งก็ได้. 23 00:01:27,170 --> 00:01:29,220 แล้ว ถ้าเราไปยังสีบานเย็นนี่ ถ้าเราไปสองหลัก 24 00:01:29,220 --> 00:01:35,670 ทางขวา ค่านี้แทนหนึ่งในร้อย หรือ 10 ยกกำลัง 25 00:01:35,670 --> 00:01:36,500 ลบสอง. 26 00:01:36,500 --> 00:01:41,060 แล้วสุดท้าย 3 นี่แทนหนึ่งในพัน. 27 00:01:41,060 --> 00:01:45,870 ค่านี้แทนหนึ่งในพัน หรือ 10 ยกกำลังลบสาม. 28 00:01:45,870 --> 00:01:48,780 ทีนี้ เพื่อตอบคำถามว่า ค่าประจำหลัก 29 00:01:48,780 --> 00:01:53,970 ของ 3 ใน 654.213 เป็นเท่าใด? 30 00:01:53,970 --> 00:01:55,520 ค่าประจำหลักก็คือ หนึ่งในพัน. 31 00:01:55,520 --> 00:01:59,030 32 00:01:59,030 --> 00:02:01,010 นั่นก็ตอบคำถามแล้ว. 33 00:02:01,010 --> 00:02:03,650 แต่เพื่อให้แน่ใจว่าเราเข้าใจ ความหมายจริงๆ 34 00:02:03,650 --> 00:02:05,810 ผมจะเขียนจำนวนนี้ใหม่. 35 00:02:05,810 --> 00:02:09,840 เราเขียนมันใหม่เป็น 600 ได้. 36 00:02:09,840 --> 00:02:16,800 เรามี 6 ร้อยบวก 5 สิบ หรือคุณบอกว่าบวก 50 37 00:02:16,800 --> 00:02:48,630 บวก 4 หน่วย บวก 2/10 บวก 1/100, บวก 3/1,000. 38 00:02:48,630 --> 00:02:51,380 หรือเราเขียนได้แบบนี้ ให้แน่ใจว่าเรา 39 00:02:51,380 --> 00:02:53,960 เข้าใจว่่าเราพูดถึงอะไรอยู่ เวลา 40 00:02:53,960 --> 00:03:02,170 มีค่าประจำหลัก เราเขียน จำนวนนี้ได้เป็น 6 คูณ 100, บวก 5 41 00:03:02,170 --> 00:03:10,020 คูณ 10, บวก 4 คูณ 1-- ผมใช้สีผิดอีกแล้ว 42 00:03:10,020 --> 00:03:28,190 -- บวก 2 คูณ 1/10, บวก 1 คูณ 1/100, แล้ว 43 00:03:28,190 --> 00:03:33,940 สุดท้าย, บวก 3 คูณ 1/1,000. 44 00:03:33,940 --> 00:03:36,540 หวังว่า เมื่อคุณเขียนแบบนี้ มันจะ 45 00:03:36,540 --> 00:03:39,630 ทำให้คุณเข้าใจความหมาย เวลาเราบอกค่าประจำหลัก 46 00:03:39,630 --> 00:03:44,350 6, สามหลักทางซ้ายของทศนิยม 47 00:03:44,350 --> 00:03:47,110 อยู่ในหลักร้อย มันจึงแทน 6 ร้อย. 48 00:03:47,110 --> 00:03:50,190 นี่แทน 5 สิบเพราะมันอยู่ในหลักสิบ. 49 00:03:50,190 --> 00:03:51,820 นี่แทน 4 หน่วย. 50 00:03:51,820 --> 00:03:54,640 คุณไปที่หลักหนึ่งในพัน, 3 นี่ 51 00:03:54,640 --> 00:03:56,686 หมายถึงสามในพัน. 52 00:03:56,686 --> 00:03:59,867