1 00:00:00,137 --> 00:00:03,002 มนุษย์เรารู้กันมาเป็นพันปีแล้ว 2 00:00:03,002 --> 00:00:05,867 เมื่อมองดูสิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา 3 00:00:05,867 --> 00:00:07,207 จะพบว่ามีสารต่าง ๆ แตกต่างกัน 4 00:00:07,207 --> 00:00:10,333 สารที่แตกต่างกันเหล่านี้มีแนวโน้มที่จะมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันด้วย 5 00:00:10,333 --> 00:00:11,954 และไม่เพียงแต่คุณสมบัติที่แตกต่างกันเท่านั้น 6 00:00:11,954 --> 00:00:14,745 สารแต่ละชนิด อาจสะท้อนแสงแตกต่างกัน หรืออาจไม่สะท้อนแสงเลย 7 00:00:14,745 --> 00:00:17,601 หรืออาจมีสี มีอุณหภูมิที่จำเพาะ 8 00:00:17,601 --> 00:00:20,457 อาจเป็นของเหลว หรือก๊าซ หรือของแข็ง 9 00:00:20,457 --> 00:00:22,108 มนุษย์เรายังได้สังเกตด้วยว่า 10 00:00:22,108 --> 00:00:24,867 สารเหล่านี้ทำปฏิกิริยาต่อกันอย่างไรในสภาวะต่าง ๆ 11 00:00:24,867 --> 00:00:27,663 และนี่คือตัวอย่างรูปภาพของสาร 12 00:00:27,663 --> 00:00:31,477 ภาพนี้คือคาร์บอน และนี่คือคาร์บอนในรูปแกรไฟต์ 13 00:00:31,477 --> 00:00:36,069 นี่คือตะกั่ว และภาพนี้คือทอง 14 00:00:36,069 --> 00:00:38,719 ซึ่งรูปทั้งหมดนี้ 15 00:00:38,719 --> 00:00:41,369 จะมีอยู่ในเวปไซต์ตรงโน้นนะครับ 16 00:00:41,369 --> 00:00:43,903 สารที่กล่าวมานี้เป็นของแข็งทั้งหมด 17 00:00:43,903 --> 00:00:47,395 แต่เราก็รู้ว่าสารบางอย่างอยู่ในอากาศ 18 00:00:47,395 --> 00:00:49,338 เป็นอนุภาคในอากาศ 19 00:00:49,338 --> 00:00:52,210 ขึ้นอยู่กับว่าอนุภาคในอากาศชนิดไหนที่เรากำลังดู 20 00:00:52,210 --> 00:00:55,079 ไม่ว่าจะเป็นคาร์บอน ออกซิเจน หรือไนโตรเจน 21 00:00:55,079 --> 00:00:57,948 ก็ดูเหมือนจะมีคุณสมบัติที่แตกต่างกัน 22 00:00:57,948 --> 00:00:59,425 หรือ มีสารอื่น ๆ ที่เป็นของเหลว 23 00:00:59,425 --> 00:01:02,082 หรือ ถ้าคุณเพิ่มอุณหภูมิของสารเหล่านี้ให้สูงพอ 24 00:01:02,082 --> 00:01:05,018 เช่น ถ้าเพิ่มอุณหภูมิของทองและตะกั่วให้สูงมากพอ 25 00:01:05,018 --> 00:01:06,503 ทองและตะกั่วก็จะเปลี่ยนเป็นรูปของเหลว 26 00:01:06,503 --> 00:01:09,841 หรือ ถ้าคุณเผาคาร์บอน 27 00:01:09,841 --> 00:01:12,076 ก็จะได้ก๊าซ 28 00:01:12,076 --> 00:01:13,351 ซึ่งคุณสามารถปล่อยเข้าสู่ชั้นบรรยากาศได้ 29 00:01:13,351 --> 00:01:14,702 คุณสามารถทำให้สารเหล่านี้มีขนาดเล็กลงได้ 30 00:01:14,702 --> 00:01:17,271 สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้คือ 31 00:01:17,271 --> 00:01:20,585 สิ่งที่มนุษย์ได้สังเกตเห็นมานานหลายพันปีแล้ว 32 00:01:20,585 --> 00:01:22,452 ซึ่งการสังเกตเหล่านี้ทำให้เกิดคำถามขึ้น 33 00:01:22,452 --> 00:01:24,226 แล้วก็นำไปสู่การตั้งคำถามเชิงปรัชญาขึ้น 34 00:01:24,226 --> 00:01:26,405 แต่ตอนนี้ เราอาจจะตอบคำถามเหล่านี้ได้บ้าง 35 00:01:26,405 --> 00:01:30,898 เช่น ถ้าคุณทำให้คาร์บอนชิ้นนี้ 36 00:01:30,898 --> 00:01:33,518 แตกออกเป็นชิ้นเล็กลงเรื่อย ๆ 37 00:01:33,518 --> 00:01:35,554 จนได้ชิ้นที่เล็กที่สุด 38 00:01:35,554 --> 00:01:39,867 ชิ้นเล็ก ๆ เหล่านี้ (ของคาร์บอน) 39 00:01:39,867 --> 00:01:43,166 จะยังมีคุณสมบัติของคาร์บอนอยู่หรือไม่? 40 00:01:43,166 --> 00:01:45,256 และถ้าคุณทำให้ขนาดเล็กลงไปอีก 41 00:01:45,256 --> 00:01:48,390 คุณจะสูญเสียคุณสมบัติต่าง ๆ ของคาร์บอนนี้หรือไม่? 42 00:01:48,390 --> 00:01:50,354 คำตอบก็คือ ใช่ 43 00:01:50,354 --> 00:01:52,200 เรามีคำศัพท์ที่เรียกสารที่มีความแตกต่างกันเหล่านี้ 44 00:01:52,200 --> 00:01:56,156 ซึ่งเป็นสารบริสุทธิ์ (มีเพียงชนิดเดียว) 45 00:01:56,156 --> 00:01:59,025 มีคุณสมบัติที่จำเพาะ ที่อุณหภูมิหนึ่ง ๆ 46 00:01:59,025 --> 00:02:01,185 และสามารถทำปฏิกิริยาบางอย่างได้นี้ 47 00:02:01,185 --> 00:02:05,291 เราเรียกว่า "ธาตุ" 48 00:02:05,291 --> 00:02:08,729 คาร์บอนเป็นธาตุชนิดหนึ่ง ตะกั่วเป็นธาตุชนิดหนึ่ง และทองก็เป็นธาตุชนิดหนึ่ง 49 00:02:08,729 --> 00:02:10,400 คุณอาจจะบอกว่า น้ำก็เป็นธาตุชนิดหนึ่ง 50 00:02:10,400 --> 00:02:14,221 ในอดีต มนุษย์เชื่อว่าน้ำจัดเป็นธาตุ 51 00:02:14,221 --> 00:02:17,892 แต่ตอนนี้ เราทราบแล้วว่า น้ำประกอบด้วยธาตุมากกว่า 1 ชนิด 52 00:02:17,892 --> 00:02:20,405 คือออกซิเจน และไฮโดรเจน 53 00:02:20,405 --> 00:02:25,014 และธาตุทั้งหมด จะเขียนไว้ที่นี่ 54 00:02:25,014 --> 00:02:27,758 ใน "ตารางธาตุ" 55 00:02:27,758 --> 00:02:29,374 C ย่อมาจากคาร์บอน 56 00:02:29,374 --> 00:02:30,400 ผมจะเลือกให้ดูธาตุที่มีความสำคัญต่อมนุษยชาติ 57 00:02:30,400 --> 00:02:32,379 ผมจะเลือกให้ดูธาตุที่มีความสำคัญต่อมนุษยชาติ 58 00:02:32,379 --> 00:02:35,502 ซึ่งคุณน่าจะคุ้นเคยกับธาตุเหล่านี้อยู่แล้ว 59 00:02:35,502 --> 00:02:39,148 เช่น ออกซิเจน ไนโตรเจน ซิลิคอน 60 00:02:39,148 --> 00:02:42,867 นี่คือ Au คือทองคำ นี่คือตะกั่ว 61 00:02:42,867 --> 00:02:51,995 และส่วนประกอบพื้นฐานของธาตุเหล่านี้ ก็คือ "อะตอม" 62 00:02:51,995 --> 00:02:54,559 ถ้าคุณทำให้สารเหล่านี้เล็กลงเรื่อย ๆ 63 00:02:54,559 --> 00:02:57,079 ถ้าคุณทำให้สารเหล่านี้เล็กลงเรื่อย ๆ 64 00:02:57,079 --> 00:02:59,415 ในที่สุด คุณจะได้อะตอมของคาร์บอน 65 00:02:59,415 --> 00:03:00,755 เช่นเดียวกันกับทองคำ 66 00:03:00,755 --> 00:03:02,536 ในที่สุด คุณจะได้อะตอมของทองคำ 67 00:03:02,536 --> 00:03:03,991 เช่นเดียวกันกับสิ่งนี้ 68 00:03:03,991 --> 00:03:05,856 ในที่สุดคุณจะได้ชิ้นส่วนขนาดเล็กมาก 69 00:03:05,856 --> 00:03:07,758 จะใช้คำว่าอะไรดี -- อนุภาค 70 00:03:07,758 --> 00:03:09,185 ซึ่งเรียกว่า อะตอมของตะกั่ว 71 00:03:09,185 --> 00:03:11,239 และคุณจะไม่สามารถทำให้อะตอมมีขนาดเล็กลงได้อีกต่อไป 72 00:03:11,239 --> 00:03:13,597 และยังคงเรียกว่า ตะกั่ว 73 00:03:13,597 --> 00:03:17,043 เพราะมันยังมีคุณสมบัติของตะกั่วอยู่ 74 00:03:17,043 --> 00:03:18,330 ...ผมอยากบอกว่า 75 00:03:18,330 --> 00:03:21,193 นี่เป็นสิ่งที่ผมมีปัญหาอย่างมากในการจินตนาการ 76 00:03:21,193 --> 00:03:24,040 ว่า อะตอมมีขนาดเล็กอย่างไม่น่าเชื่อ 77 00:03:24,040 --> 00:03:25,901 จริง ๆ ครับ ....มันมีขนาดเล็กกว่าที่คุณคิด 78 00:03:25,901 --> 00:03:27,555 ยกตัวอย่าง... คาร์บอน 79 00:03:27,555 --> 00:03:29,379 เส้นผมของผม ก็มาจากคาร์บอน 80 00:03:29,379 --> 00:03:31,882 อันที่จริง ตัวผมเกือบทั้งตัว ก็มาจากคาร์บอน 81 00:03:31,882 --> 00:03:35,912 ที่จริงแล้ว สิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิดก็มาจากคาร์บอน 82 00:03:35,912 --> 00:03:40,533 เพราะฉะนั้น ถ้าคุณดึงเอาเส้นผมของผมไป.. เส้นผมของผมก็เป็นคาร์บอน 83 00:03:40,533 --> 00:03:42,231 เส้นผมของผม ประกอบด้วยคาร์บอนเป็นส่วนใหญ่ 84 00:03:42,231 --> 00:03:43,989 ดังนั้นถ้าคุณดึงเอาเส้นผมของผมตรงนี้ไป 85 00:03:43,989 --> 00:03:45,565 เส้นผมของผมไม่ใช่สีเหลืองนะครับ 86 00:03:45,565 --> 00:03:46,766 แต่เส้นผมอันนี้ สีมันตัดกับสีดำ 87 00:03:46,766 --> 00:03:47,950 เส้นผมของผมเป็นสีดำ แต่ถ้าผมใช้ของตัวเอง 88 00:03:47,950 --> 00:03:49,713 คุณจะไม่มองไม่เห็นบนหน้าจอ 89 00:03:49,713 --> 00:03:51,970 ... ถ้าคุณเอาเส้นผมไป ผมอยากทราบว่า..... 90 00:03:51,970 --> 00:03:55,200 เส้นผมของผม มีคาร์บอนจำนวนกี่อะตอม? 91 00:03:55,200 --> 00:03:58,467 ถ้าคุณตัดเส้นผมในแนวขวาง (ไม่ใช่ตามยาว) 92 00:03:58,467 --> 00:04:00,361 และถามว่า... 93 00:04:00,361 --> 00:04:03,255 มีคาร์บอนจำนวนกี่อะตอม? 94 00:04:03,255 --> 00:04:07,049 และคุณอาจจะพอเดาได้ ก็ซัลบอกฉันแล้วว่า อะตอมมีขนาดเล็กมาก 95 00:04:07,049 --> 00:04:09,150 ดังนั้น น่าจะมีคาร์บอนจำนวนหลายพันอะตอมตรงนี้ 96 00:04:09,150 --> 00:04:10,484 หรืออาจเป็นหมื่น หรือเป็นแสน 97 00:04:10,484 --> 00:04:11,788 ..ผมจะบอกว่า ไม่ใช่หรอกครับ! 98 00:04:11,788 --> 00:04:14,249 มีเป็นล้านอะตอมต่างหาก.... 99 00:04:14,249 --> 00:04:17,439 หรือพูดง่าย ๆ คือ คุณสามารถเอาคาร์บอน 1 ล้านอะตอมมาเรียงต่อกัน 100 00:04:17,439 --> 00:04:20,933 จะเท่ากับความกว้างเฉลี่ยของเส้นผมมนุษย์ 101 00:04:20,933 --> 00:04:22,585 นั่นเป็นการประมาณนะครับ 102 00:04:22,585 --> 00:04:24,026 จริง ๆ แล้ว คงไม่ใช่ 1 ล้าน 103 00:04:24,026 --> 00:04:26,605 แต่เป็นการเปรียบเทียบให้คุณมองเห็นภาพว่า อะตอมมีขนาดเล็กแค่ไหน 104 00:04:26,605 --> 00:04:28,441 ลองนึกดูซิครับ... ดึงเส้นผมจากศีรษะคุณ 105 00:04:28,441 --> 00:04:30,991 แล้วเอาอะไรสักอย่างมาเรียงต่อกัน 1 ล้านชิ้น 106 00:04:30,991 --> 00:04:33,991 ตามแนวขวางของเส้นผม 107 00:04:33,991 --> 00:04:37,037 ไม่ใช่แนวยาวนะครับ... ตามความกว้างของเส้นผม 108 00:04:37,037 --> 00:04:39,175 แค่ความกว้างของผมก็มองเห็นยากอยู่แล้ว 109 00:04:39,175 --> 00:04:40,718 แต่นี่มีคาร์บอนเรียงกันอยู่ถึง 1 ล้านอะตอม 110 00:04:40,718 --> 00:04:42,979 แต่นี่มีคาร์บอนเรียงกันอยู่ถึง 1 ล้านอะตอม 111 00:04:42,979 --> 00:04:48,092 ต่อไปนี้ จะเป็นสิ่งที่สุดยอดมากของอะตอม 112 00:04:48,092 --> 00:04:49,026 ..เรารู้ว่า 113 00:04:49,026 --> 00:04:51,375 มีโครงสร้างพื้นฐานที่สุด (อะตอม) ของคาร์บอนอยู่ 114 00:04:51,375 --> 00:04:53,933 โครงสร้างพื้นฐานที่สุด (อะตอม) ของธาตุใด ๆ 115 00:04:53,933 --> 00:04:55,952 แต่สิ่งที่เจ๋งกว่านั้นคือ... 116 00:04:55,952 --> 00:04:59,066 โครงสร้างพื้นฐานเหล่านี้มีความสัมพันธ์กัน 117 00:04:59,066 --> 00:05:02,556 อะตอมของคาร์บอน ยังมีอนุภาคมูลฐานเป็นส่วนประกอบ 118 00:05:02,556 --> 00:05:07,469 อะตอมของทองคำ ก็มีอนุภาคมูลฐานเป็นส่วนประกอบ 119 00:05:07,469 --> 00:05:10,445 และอะตอมเหล่านี้ จริง ๆ แล้วเกิดขึ้นมาจาก.... 120 00:05:10,445 --> 00:05:12,759 การจัดเรียงตัวของอนุภาคมูลฐานเหล่านั้น 121 00:05:12,759 --> 00:05:14,087 ซึ่งถ้าคุณเปลี่ยนแปลงจำนวนอนุภาคมูลฐานเหล่านี้ 122 00:05:14,087 --> 00:05:15,901 ซึ่งถ้าคุณเปลี่ยนแปลงจำนวนอนุภาคมูลฐานเหล่านี้ 123 00:05:15,901 --> 00:05:17,844 ก็จะทำให้คุณสมบัติของธาตุนั้นเปลี่ยนไป 124 00:05:17,844 --> 00:05:18,891 การทำปฏิกิริยากับสารอื่นก็เปลี่ยนไป 125 00:05:18,891 --> 00:05:22,769 หรืออาจจะทำให้ธาตุนั้นเปลี่ยนไปเป็นธาตุอื่น 126 00:05:22,769 --> 00:05:25,144 ...เพื่อให้เข้าใจมากขึ้น 127 00:05:25,144 --> 00:05:28,010 เราจะมาคุยกันในรายละเอียดเรื่องนี้ 128 00:05:28,010 --> 00:05:31,825 สมมติว่า คุณมี "โปรตอน" 129 00:05:31,825 --> 00:05:35,524 สมมติว่า คุณมี "โปรตอน" 130 00:05:35,524 --> 00:05:38,003 -จำนวนของโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอมหนึ่ง ๆ 131 00:05:38,003 --> 00:05:40,096 เดี๋ยวผมจะพูดถึงนิวเคลียสทีหลังนะครับ 132 00:05:40,096 --> 00:05:42,969 ...นี่คือสิ่งที่กำหนดความเป็น "ธาตุ" ว่าธาตุนั้นเป็นธาตุอะไร 133 00:05:42,969 --> 00:05:45,492 ...นี่คือสิ่งที่กำหนดความเป็น "ธาตุ" ว่าธาตุนั้นเป็นธาตุอะไร 134 00:05:45,492 --> 00:05:47,333 ถ้าคุณดูที่ตารางธาตุ.. 135 00:05:47,333 --> 00:05:50,154 จะเห็นว่า มีการเขียนเรียงลำดับของธาตุตาม "เลขอะตอม" 136 00:05:50,154 --> 00:05:51,575 ซึ่ง "เลขอะตอม" นี้ 137 00:05:51,575 --> 00:05:54,667 ก็คือ จำนวนของโปรตอนในธาตุ นั่นเอง 138 00:05:54,667 --> 00:05:58,667 ดังนั้น ตามคำจำกัดความ.. ไฮโดรเจนมี 1 โปรตอน 139 00:05:58,667 --> 00:06:02,800 ฮีเลียมมี 2 โปรตอน และคาร์บอนมี 6 โปรตอน 140 00:06:02,800 --> 00:06:05,333 คุณไม่สามารถทำให้คาร์บอน มี 7 โปรตอนได้ 141 00:06:05,333 --> 00:06:07,172 เพราะถ้ามี 7 โปรตอน จะกลายเป็นธาตุไนโตรเจน 142 00:06:07,172 --> 00:06:09,234 ไม่ใช่คาร์บอนอีกต่อไป 143 00:06:09,234 --> 00:06:10,589 ออกซิเจนมี 8 โปรตอน 144 00:06:10,589 --> 00:06:12,673 ถ้าคุณเพิ่มอีก 1 โปรตอนเข้าไป 145 00:06:12,673 --> 00:06:14,050 ก็จะไม่ใช่ออกซิเจนอีกต่อไป 146 00:06:14,050 --> 00:06:18,333 แต่จะเป็นฟลูออรีนแทน 147 00:06:18,333 --> 00:06:20,067 ดังนั้น จำนวนโปรตอนจึงเป็นตัวกำหนดว่าธาตุนั้นเป็นธาตุอะไร 148 00:06:20,067 --> 00:06:22,967 เลขอะตอม จำนวนโปรตอน 149 00:06:22,967 --> 00:06:25,447 จำนวนโปรตอน ....จำไว้ว่า 150 00:06:25,447 --> 00:06:27,674 นั่นคือตัวเลขที่เขียนไว้ทางขวาด้านบนสุดตรงนี้ 151 00:06:27,674 --> 00:06:30,116 สำหรับแต่ละธาตุในตารางธาตุ 152 00:06:30,116 --> 00:06:31,529 -จำนวนโปรตอน 153 00:06:31,529 --> 00:06:34,133 จะเท่ากับเลขอะตอม 154 00:06:34,133 --> 00:06:36,852 จะเท่ากับเลขอะตอม 155 00:06:36,867 --> 00:06:38,861 เลขเหล่านี้จะถูกใส่ไว้ด้านบนนี้ เพราะว่า... 156 00:06:38,861 --> 00:06:42,221 ตัวเลขนี้บอกถึงความเป็นธาตุนั้น ๆ (ธาตุนั้นเป็นธาตุอะไร) 157 00:06:42,221 --> 00:06:46,133 ส่วนประกอบของอะตอมอีก 2 ส่วน 158 00:06:46,133 --> 00:06:47,702 ส่วนประกอบของอะตอมอีก 2 ส่วน 159 00:06:47,702 --> 00:06:55,123 ก็คือ "อิเล็กตรอน" และ "นิวตรอน" 160 00:06:55,123 --> 00:06:57,541 ...คุณลองนึกถึงภาพแบบจำลอง 161 00:06:57,541 --> 00:07:00,420 - ซึ่งแบบจำลองนี้ เดี๋ยวเราจะได้เห็นเมื่อเราเรียนเคมีในตอนต่อ ๆ ไป 162 00:07:00,420 --> 00:07:02,833 มันจะค่อย ๆ เป็นภาพจินตนาการมากขึ้น 163 00:07:02,833 --> 00:07:04,821 ซึ่งค่อนข้างยากที่จะเข้าใจ 164 00:07:04,821 --> 00:07:06,548 แต่เราอาจคิดถึงภาพเหล่านี้ได้ดังนี้ 165 00:07:06,548 --> 00:07:08,348 .. คุณมีโปรตอนและนิวตรอน 166 00:07:08,348 --> 00:07:09,825 อยู่ตรงกลางของอะตอม 167 00:07:09,825 --> 00:07:11,600 เรียกว่า "นิวเคลียส" ของอะตอม 168 00:07:11,600 --> 00:07:14,867 ตัวอย่างเช่น คาร์บอน ซึ่งมี 6 โปรตอน 169 00:07:14,867 --> 00:07:19,067 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 170 00:07:19,067 --> 00:07:22,385 คาร์บอน 12 ซึ่งเป็นคาร์บอนรูปแบบหนึ่ง 171 00:07:22,385 --> 00:07:24,200 จะมี 6 นิวตรอน 172 00:07:24,200 --> 00:07:25,748 คาร์บอน อาจมีหลายรูปแบบ 173 00:07:25,748 --> 00:07:28,021 ซึ่งมีจำนวนนิวตรอนแตกต่างกัน 174 00:07:28,021 --> 00:07:30,113 ดังนั้น จำนวนนิวตรอนสามารถเปลี่ยนแปลงได้ จำนวนอิเล็กตรอนสามารถเปลี่ยนแปลงได้ 175 00:07:30,113 --> 00:07:31,733 คุณก็ยังได้ธาตุชนิดเดิม 176 00:07:31,733 --> 00:07:33,267 แต่จำนวนโปรตอนเปลี่ยนแปลงไม่ได้ 177 00:07:33,267 --> 00:07:35,905 เพราะถ้าจำนวนโปรตอนเปลี่ยนไป ธาตุนั้นจะเปลี่ยนเป็นธาตุอื่น 178 00:07:35,905 --> 00:07:39,200 ดังนั้น ผมจะวาดนิวเคลียสของ คาร์บอน 12 179 00:07:39,200 --> 00:07:43,200 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 180 00:07:43,200 --> 00:07:46,487 ตรงนี้ เป็นนิวเคลียสของคาร์บอน-12 181 00:07:46,487 --> 00:07:48,333 บางครั้งจะเขียนแบบนี้ 182 00:07:48,333 --> 00:07:51,132 หรือบางครั้ง อาจจะเขียนจำนวนโปรตอนลงไปด้วย 183 00:07:51,132 --> 00:07:53,831 หรือบางครั้ง อาจจะเขียนจำนวนโปรตอนลงไปด้วย 184 00:07:53,831 --> 00:07:56,133 ...เหตุผลว่าทำไมเราจึงเขียน คาร์บอน-12 185 00:07:56,133 --> 00:07:58,677 -- จำได้ใช่มั้ยครับว่า ผมเขียนนิวตรอนลงไป 6 ตัว 186 00:07:58,677 --> 00:08:00,379 นี่คือผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอนที่อยู่ภายในนิวเคลียส 187 00:08:00,379 --> 00:08:03,675 นี่คือผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอนที่อยู่ภายในนิวเคลียส 188 00:08:03,675 --> 00:08:04,741 นี่คือผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอนที่อยู่ภายในนิวเคลียส 189 00:08:04,741 --> 00:08:06,405 นี่คือผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอนที่อยู่ภายในนิวเคลียส 190 00:08:06,405 --> 00:08:07,770 นี่คือผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอนที่อยู่ภายในนิวเคลียส 191 00:08:07,770 --> 00:08:11,844 นี่คือผลรวมของจำนวนโปรตอนและนิวตรอนที่อยู่ภายในนิวเคลียส 192 00:08:11,844 --> 00:08:15,240 ธาตุคาร์บอนนี้ ตามคำจำกัดความมีเลขอะตอมเท่ากับ 6 193 00:08:15,240 --> 00:08:16,628 ซึ่งเราจะเขียนไว้ตรงนี้ก่อน 194 00:08:16,628 --> 00:08:18,596 เราจะได้จำได้ 195 00:08:18,596 --> 00:08:21,342 ดังนั้น ตรงกลางของอะตอมของคาร์บอน จะมีนิวเคลียส 196 00:08:21,342 --> 00:08:24,863 ซึ่งคาร์บอน-12 จะมี 6 โปรตอนและ 6 นิวตรอน 197 00:08:24,863 --> 00:08:27,495 คาร์บอนอีกรูปแบบหนึ่ง เช่น คาร์บอน 14 198 00:08:27,495 --> 00:08:30,909 ก็ยังคงมี 6 โปรตอน แต่จะมี 8 นิวตรอน 199 00:08:30,909 --> 00:08:32,467 ดังนั้น จำนวนนิวตรอนสามารถเปลี่ยนแปลงได้ 200 00:08:32,467 --> 00:08:34,610 ... นี่คาร์บอน 12 อยู่ตรงนี้ 201 00:08:34,610 --> 00:08:36,842 ถ้าคาร์บอน 12 มีความเป็นกลาง 202 00:08:36,842 --> 00:08:40,665 ถ้าคาร์บอน 12 มีความเป็นกลาง 203 00:08:40,665 --> 00:08:43,200 ถ้ามันเป็นกลาง จะมี 6 อิเล็กตรอน 204 00:08:43,200 --> 00:08:45,400 ...ผมจะวาดอิเล็กตรอน 6 ตัวนะครับ 205 00:08:45,400 --> 00:08:49,467 1, 2, 3, 4, 5, และ 6 206 00:08:49,467 --> 00:08:51,836 นี่เป็นวิธีหนึ่ง ที่จะคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนและนิวเคลียส 207 00:08:51,836 --> 00:08:54,634 นี่เป็นวิธีหนึ่ง ที่จะคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนและนิวเคลียส 208 00:08:54,634 --> 00:08:56,892 นี่เป็นวิธีหนึ่ง ที่จะคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนและนิวเคลียส 209 00:08:56,892 --> 00:08:58,846 คือ คุณลองจินตนาการว่า ... 210 00:08:58,846 --> 00:09:00,835 อิเล็กตรอนจะวิ่งอยู่รอบ ๆ นิวเคลียส 211 00:09:00,835 --> 00:09:02,956 บินหึ่ง ๆ อยู่รอบ ๆ นิวเคลียสนี้ 212 00:09:02,956 --> 00:09:04,692 นี่เป็นแบบจำลองให้เห็นภาพว่า 213 00:09:04,692 --> 00:09:06,700 อิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่รอบ ๆ นิวเคลียส 214 00:09:06,700 --> 00:09:08,000 แต่ที่จริงแล้ว อาจไม่ถูกต้องนัก 215 00:09:08,000 --> 00:09:10,499 เพราะอิเล็กตรอนจะไม่ได้วิ่งรอบ ๆ เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ 216 00:09:10,499 --> 00:09:11,660 เพราะอิเล็กตรอนจะไม่ได้วิ่งรอบ ๆ เหมือนกับดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ 217 00:09:11,660 --> 00:09:13,749 แต่อย่างน้อยก็ให้นึกภาพตามนี้ไปก่อน 218 00:09:13,749 --> 00:09:16,267 หรืออาจจินตนาการว่าอิเล็กตรอน "กระโดด" อยู่รอบ ๆ นิวเคลียส 219 00:09:16,267 --> 00:09:18,691 หรือบินหึ่ง ๆ อยู่รอบ ๆ นิวเคลียส 220 00:09:18,691 --> 00:09:19,956 แต่ถ้าคิดแบบนั้นอาจจะดูประหลาดสำหรับการเรียนเคมีระดับนี้ 221 00:09:19,956 --> 00:09:22,073 แต่ถ้าคิดแบบนั้นอาจจะดูประหลาดสำหรับการเรียนเคมีระดับนี้ 222 00:09:22,073 --> 00:09:23,544 เพราะเรายังไม่ได้เรียนเกี่ยวกับควอนตัมฟิสิกส์ 223 00:09:23,544 --> 00:09:26,408 เพื่อให้เข้าใจว่าจริง ๆ แล้วอิเล็กตรอนทำอะไรอยู่ 224 00:09:26,408 --> 00:09:29,190 เพราะฉะนั้น แบบจำลองแบบแรกที่ควรจำไว้ก่อนคือ 225 00:09:29,190 --> 00:09:32,400 ตรงกลางของอะตอมของคาร์บอน 12 226 00:09:32,400 --> 00:09:34,067 จะมีนิวเคลียส 227 00:09:34,067 --> 00:09:36,644 จะมีนิวเคลียส 228 00:09:36,644 --> 00:09:40,733 และมีอิเล็กตรอนกระโดดไปมารอบ ๆ นิวเคลียสนี้ 229 00:09:40,733 --> 00:09:43,009 ... ซึ่งเหตุผลที่ว่าทำไมอิเล็กตรอนเหล่านี้ 230 00:09:43,009 --> 00:09:45,135 ไม่หลุดกระเด็นออกไปจากนิวเคลียส 231 00:09:45,135 --> 00:09:47,200 แต่กลับติดอยู่กับนิวเคลียสแบบนี้ 232 00:09:47,200 --> 00:09:49,308 กลายเป็นส่วนหนึ่งของอะตอม 233 00:09:49,308 --> 00:09:54,579 ก็เพราะว่า.. โปรตอนมีประจุเป็นบวก 234 00:09:54,579 --> 00:09:57,918 และอิเล็กตรอนมีประจุลบ 235 00:09:57,918 --> 00:10:02,477 นี่เป็นคุณสมบัติอย่างหนึ่งของอนุภาคพื้นฐานเหล่านี้ 236 00:10:02,477 --> 00:10:03,620 ถ้าคุณเริ่มคิดว่า.... 237 00:10:03,620 --> 00:10:05,467 ประจุคืออะไร 238 00:10:05,467 --> 00:10:06,867 ก็จะเริ่มยากขึ้น 239 00:10:06,867 --> 00:10:08,400 แต่สิ่งหนึ่งที่เรารู้ 240 00:10:08,400 --> 00:10:10,697 เวลาเราคุยกันเกี่ยวกับแรงแม่เหล็กไฟฟ้า 241 00:10:10,697 --> 00:10:13,146 ก็คือ การที่ประจุที่ต่างกันดึงดูดกันเข้าหากัน 242 00:10:13,146 --> 00:10:14,959 นั่นเป็นวิธีคิดที่ดีที่สุดเกี่ยวกับเรื่องนี้นะครับ 243 00:10:14,959 --> 00:10:16,546 โปรตอน กับอิเล็กตรอน 244 00:10:16,546 --> 00:10:18,133 เนื่องจากมีประจุแตกต่างกัน 245 00:10:18,133 --> 00:10:20,129 จึงดึงดูดเข้าหากัน 246 00:10:20,129 --> 00:10:21,457 แต่นิวตรอนเป็นกลาง 247 00:10:21,457 --> 00:10:25,088 จึงแค่นั่งอยู่เฉย ๆ ในนิวเคลียส 248 00:10:25,088 --> 00:10:28,579 แต่นิวตรอนก็จะมีผลต่อคุณสมบัติของธาตุได้ในบางกรณี 249 00:10:28,579 --> 00:10:33,154 สำหรับอะตอบของธาตุบางชนิด 250 00:10:33,154 --> 00:10:35,005 ส่วนเหตุผลที่ว่า.. ทำไมอิเล็กตรอนจึงไม่บินออกไปอย่างอิสระ 251 00:10:35,005 --> 00:10:36,818 ส่วนเหตุผลที่ว่า.. ทำไมอิเล็กตรอนจึงไม่บินออกไปอย่างอิสระ 252 00:10:36,818 --> 00:10:38,600 ก็เพราะว่ามันถูกดึงดูดเข้าหานิวเคลียส 253 00:10:38,600 --> 00:10:42,333 ก็เพราะว่ามันถูกดึงดูดเข้าหานิวเคลียส 254 00:10:42,333 --> 00:10:45,067 ด้วยแรงดึงดูดที่มากอย่างไม่น่าเชื่อ 255 00:10:45,067 --> 00:10:47,140 - มันยากจริง ๆ นะครับ 256 00:10:47,140 --> 00:10:48,446 ที่จะอธิบายให้เห็นภาพที่เกี่ยวกับฟิสิกส์ในเรื่องนี้ 257 00:10:48,446 --> 00:10:51,546 ที่จะอธิบายให้เห็นภาพที่เกี่ยวกับฟิสิกส์ในเรื่องนี้ 258 00:10:51,546 --> 00:10:52,570 ถ้าเราจะมาคุยกันว่า.. 259 00:10:52,570 --> 00:10:54,164 อิเล็กตรอนนั้น จริง ๆ แล้วทำอะไรอยู่ 260 00:10:54,164 --> 00:10:55,946 -- ผมว่าพอแค่นี้ก่อน 261 00:10:55,946 --> 00:10:56,842 -- ผมว่าพอแค่นี้ก่อน 262 00:10:56,842 --> 00:10:57,924 แค่ว่า อิเล็กตรอนกระโดดไปรอบ ๆ ..ก็พอ 263 00:10:57,924 --> 00:11:00,733 ไม่ใช่เข้าไปอยู่ในนิวเคลียสนะครับ 264 00:11:00,733 --> 00:11:02,867 ไม่ใช่เข้าไปอยู่ในนิวเคลียสนะครับ 265 00:11:02,867 --> 00:11:08,123 มาดูต่อกัน... ผมได้พูดถึงคาร์บอน 12 ไปแล้วว่า 266 00:11:08,123 --> 00:11:09,769 จะถูกกำหนดด้วยจำนวนโปรตอน 267 00:11:09,769 --> 00:11:12,403 ออกซิเจนจะถูกกำหนดโดยจำนวนโปรตอน 8 ตัว 268 00:11:12,403 --> 00:11:16,467 แต่ย้ำอีกครั้งว่า.. อิเล็กตรอนสามารถทำปฏิกิริยากับอิเล็กตรอนอื่น ๆ ได้ 269 00:11:16,467 --> 00:11:18,650 และอิเล็กตรอนเหล่านี้ก็อาจถูกอะตอมอื่นดึงไปได้ 270 00:11:18,650 --> 00:11:21,025 ซึ่งความเข้าใจเรื่องอิเล็กตรอนนี้ ที่จริงแล้ว 271 00:11:21,025 --> 00:11:23,271 ทำให้เราสามารถเข้าใจเกี่ยวกับเคมีอย่างมาก 272 00:11:23,271 --> 00:11:25,995 มันขึ้นอยู่กับว่าอะตอมนั้น ๆ มีกี่อิเล็กตรอน 273 00:11:25,995 --> 00:11:27,600 หรือธาตุนั้น ๆ มีกี่อิเล็กตรอน 274 00:11:27,600 --> 00:11:29,467 และอิเล็กตรอนเหล่านั้นมีการจัดเรียงตัวอย่างไร 275 00:11:29,467 --> 00:11:33,867 รวมทั้งอิเล็กตรอนของธาตุอื่น ๆ ด้วยว่าเรียงตัวกันอย่างไร 276 00:11:33,867 --> 00:11:36,018 หรือแม้แต่อะตอมของธาตุเดียวกัน 277 00:11:36,018 --> 00:11:41,267 เราลองมาเริ่มทายกันว่า อะตอมของธาตุหนึ่ง ๆ 278 00:11:41,267 --> 00:11:43,333 จะทำปฏิกิริยากับอะตอมของอีกธาตุหนึ่งได้อย่างไร 279 00:11:43,333 --> 00:11:46,733 หรืออะตอมของธาตุหนึ่ง ๆ จะทำปฏิกิริยา.. 280 00:11:46,733 --> 00:11:49,695 หรือสร้างพันธะ หรือถูกดึงดูดเข้าหากัน 281 00:11:49,695 --> 00:11:52,200 หรือผลักออกจากอะตอมของธาตุอื่นอย่างไร 282 00:11:52,200 --> 00:11:53,420 ตัวอย่างเช่น.... 283 00:11:53,420 --> 00:11:56,300 ซึ่งเราจะได้เรียนต่อไปเกี่ยวกับเรื่องนี้ในตอนหน้า 284 00:11:56,300 --> 00:12:00,144 ..เป็นไปได้หรือไม่ว่าอะตอมหนึ่ง ๆ 285 00:12:00,144 --> 00:12:02,723 จะมาดึงเอาอิเล็กตรอนจากคาร์บอนไป 286 00:12:02,733 --> 00:12:05,552 ด้วยเหตุผลอะไรก็ตาม 287 00:12:05,552 --> 00:12:10,338 .อะตอมที่เป็นกลางของธาตุบางชนิด 288 00:12:10,338 --> 00:12:13,723 จะสามารถจับกับอิเล็กตรอนได้ดีกว่าธาตุอื่น 289 00:12:13,723 --> 00:12:15,218 ซึ่งอะตอมเหล่านี้ 290 00:12:15,218 --> 00:12:17,160 อาจดึงเอาอิเล็กตรอนจากคาร์บอนได้ 291 00:12:17,160 --> 00:12:19,230 ทำให้คาร์บอนมีอิเล็กตรอนน้อยกว่าโปรตอน 292 00:12:19,230 --> 00:12:21,831 ทำให้คาร์บอนมีอิเล็กตรอนน้อยกว่าโปรตอน 293 00:12:21,831 --> 00:12:25,138 ดังนั้น เราจะมี 5 อิเล็กตรอนและ 6 โปรตอน 294 00:12:25,138 --> 00:12:27,800 และจะมีประจุรวมเป็นบวก 295 00:12:27,800 --> 00:12:30,039 สำหรับคาร์บอน 12 296 00:12:30,039 --> 00:12:34,267 ผมมี 6 โปรตอน และ 6 อิเล็กตรอน ประจุจะหักล้างกันหมด 297 00:12:34,267 --> 00:12:36,553 ถ้ามีการสูญเสียอิเล็กตรอน 1 ตัว จะเหลือเพียง 5 ตัว 298 00:12:36,553 --> 00:12:38,933 ทำให้ได้ประจุบวก 299 00:12:38,933 --> 00:12:40,785 ซึ่งเราจะพูดอย่างละเอียดในตอนหน้า 300 00:12:40,785 --> 00:12:42,867 เกี่ยวกับเรื่องนี้และเรื่องอื่น ๆ ตามหัวข้อ 301 00:12:42,867 --> 00:12:44,302 ผมหวังอย่างยิ่งว่า คุณจะชอบนะครับ 302 00:12:44,302 --> 00:12:46,133 อย่างน้อย การที่ได้เริ่มต้นครั้งนี้แล้วก็ถือว่าเยี่ยมมากครับ 303 00:12:46,133 --> 00:12:51,800 เราก็ได้เข้าใจถึงโครงสร้างมูลฐาน 304 00:12:51,800 --> 00:12:53,118 ที่เรียกว่าอะตอม.. แล้วนะครับ 305 00:12:53,118 --> 00:12:54,920 และที่ดีกว่านั้น 306 00:12:54,920 --> 00:12:56,759 และเรายังรู้ว่าอะตอมนี้ 307 00:12:56,759 --> 00:12:58,667 ยังประกอบด้วยอนุภาคมูลฐาน 308 00:12:58,667 --> 00:13:00,867 ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ 309 00:13:00,867 --> 00:13:03,129 ทำให้คุณสมบัติของอะตอมเปลี่ยนไป 310 00:13:03,129 --> 00:13:06,044 หรือแม้กระทั่งเปลี่ยนอะตอมของธาตุหนึ่ง 311 00:13:06,044 --> 00:13:09,036 ไปเป็นอะตอมของอีกธาตุหนึ่ง ...