1 00:00:00,000 --> 00:00:00,490 2 00:00:00,490 --> 00:00:07,760 เราต้องนำ 0.25 ไปหาร 1.03075. 3 00:00:07,760 --> 00:00:11,260 ทีนี้ อย่างแรก เมื่อตัวหาร 4 00:00:11,260 --> 00:00:13,690 จำนวนที่คุณจะเอาไปหาร เลขอีกตัว 5 00:00:13,690 --> 00:00:17,850 นั้นเป็นเทศนิยม เราต้องคูณด้วย 10 ให้มากพอจน 6 00:00:17,850 --> 00:00:19,990 มันกลายเป็นจำนวนเต็ม คุณก็เลื่อน 7 00:00:19,990 --> 00:00:21,220 ทศนิยมไปทางขวา. 8 00:00:21,220 --> 00:00:23,620 ทุกครั้งที่คุณคูณด้วย 10, คุณ 9 00:00:23,620 --> 00:00:26,170 จะเลื่อนทศนิยมไปทางขวาหนึ่งครั้ง. 10 00:00:26,170 --> 00:00:27,620 ในกรณีนี้ เราอยากเลื่อนไปทางขวา 11 00:00:27,620 --> 00:00:29,310 หนึ่ง สองครั้ง. 12 00:00:29,310 --> 00:00:34,690 แล้ว 0.25 คูณ 10 สองครั้ง เท่ากับ 0.25 คูณ 100 13 00:00:34,690 --> 00:00:38,190 แล้วเราก็เปลี่ยน 0.25 เป็น 25. 14 00:00:38,190 --> 00:00:41,250 ทีนี้ ถ้าเราทำแบบเดียวกับ ตัวหาร เราก็ต้อง 15 00:00:41,250 --> 00:00:42,860 เขียนว่า ตัวหาร 16 00:00:42,860 --> 00:00:43,920 เลขที่คุณจะหาร. 17 00:00:43,920 --> 00:00:47,220 เราก็ต้องคูณมันด้วย 10 สองครั้งเช่นกัน 18 00:00:47,220 --> 00:00:49,190 หรือวิธีทำอีกอย่าง คือเลื่อนทศนิยม 19 00:00:49,190 --> 00:00:50,560 ไปทางขวาสองครั้ง. 20 00:00:50,560 --> 00:00:52,680 เราก็เลื่อนไป 1, 2 ครั้ง. 21 00:00:52,680 --> 00:00:55,440 มันจะอยู่ตรงนั้น. 22 00:00:55,440 --> 00:00:57,180 เพื่อดูว่าถูกต้องไหม คุณแค่ 23 00:00:57,180 --> 00:01:00,700 ดูว่าพจน์นี่ตรงนี้, โจทย์ 24 00:01:00,700 --> 00:01:14,840 การหาร นั้นเท่ากับ 1.03075 25 00:01:14,840 --> 00:01:21,310 หารด้วย 0.25 ไหม. 26 00:01:21,310 --> 00:01:25,650 เราก็คูณ 0.25 ด้วย 10 สองครั้ง. 27 00:01:25,650 --> 00:01:28,590 เราก็คูณมันด้วย 100. 28 00:01:28,590 --> 00:01:30,960 ขอผมใช้อีกสีนะ. 29 00:01:30,960 --> 00:01:34,750 เราคูณมันด้วย 100 ในตัวส่วน. 30 00:01:34,750 --> 00:01:35,760 นี่คือตัวหาร. 31 00:01:35,760 --> 00:01:38,670 เราคูณมันด้วย 100, เราจึงต้องทำ แบบเดียวกันกับ 32 00:01:38,670 --> 00:01:41,040 ตัวเศษ ถ้าเราไม่อยากเปลี่ยนค่า 33 00:01:41,040 --> 00:01:42,720 ถ้าเราไม่อยากเปลี่ยน จำนวนนั้น. 34 00:01:42,720 --> 00:01:45,400 เราก็ต้องคูณมันด้วย 100. 35 00:01:45,400 --> 00:01:48,050 และเมื่อทำอย่างนั้น นี่กลายเป็น 25 และ 36 00:01:48,050 --> 00:01:52,200 นี่กลายเป็น 103.075. 37 00:01:52,200 --> 00:01:53,400 ขอผมเขียนอันนี้ใหม่นะ. 38 00:01:53,400 --> 00:01:55,520 บางครั้งถ้าคุณทำในสมุดทด 39 00:01:55,520 --> 00:01:57,240 คุณก็แค่จำว่าทศนิยมอยู่ตรงไหน. 40 00:01:57,240 --> 00:01:57,910 41 00:01:57,910 --> 00:01:59,340 แต่ผมจะเขียนใหม่ ให้มัน 42 00:01:59,340 --> 00:02:00,480 สวยขึ้น. 43 00:02:00,480 --> 00:02:03,330 เราก็คูณทั้งตัวตั้งและ 44 00:02:03,330 --> 00:02:05,040 ตัวหารด้วย 100. 45 00:02:05,040 --> 00:02:17,590 โจทย์นี้จึงกลายเป็น 25 ไปหาร 103.075. 46 00:02:17,590 --> 00:02:20,130 มันจะได้ผลหารเท่ากัน. 47 00:02:20,130 --> 00:02:22,160 มันคือเศษส่วนเดียวกัน ถ้าคุณมองอย่างนั้น. 48 00:02:22,160 --> 00:02:22,580 49 00:02:22,580 --> 00:02:26,430 เราแค่คูณทั้งเศษและส่วน 50 00:02:26,430 --> 00:02:29,720 ด้วย 100 เพื่อเลื่อนทศนิยม ไปทางขวา 2 หลัก. 51 00:02:29,720 --> 00:02:32,560 พอทำเสร็จแล้ว เราก็หารได้. 52 00:02:32,560 --> 00:02:35,520 อย่างแรก เรามี 25 ตรงนี้ มันเป็นเรื่อง 53 00:02:35,520 --> 00:02:38,160 ของศิลปะนิดหน่อย เวลาหาร 54 00:02:38,160 --> 00:02:41,660 เลขหลายหลัก เรามาดูกันว่า จะทำได้ดีแค่ไหน. 55 00:02:41,660 --> 00:02:43,810 25 ไปหาร 1 ไมไ่ด้. 56 00:02:43,810 --> 00:02:45,750 25 หาร 10 ไม่ได้. 57 00:02:45,750 --> 00:02:48,410 25 ไปหาร 103. 58 00:02:48,410 --> 00:02:51,400 เรารู้ว่า 4 คูณ 25 เท่ากับ 100, 25 59 00:02:51,400 --> 00:02:53,880 ไปหาร 100 ได้สี่ครั้ง. 60 00:02:53,880 --> 00:02:56,540 4 คูณ 5 ได้ 20. 61 00:02:56,540 --> 00:02:59,840 4 คูณ 2 ได้ 8, บวก 2 เป็น 100. 62 00:02:59,840 --> 00:03:00,990 เรารู้อยู่แล้ว. 63 00:03:00,990 --> 00:03:02,600 ควอร์เตอร์สี่เหรียญเป็น $1.00. 64 00:03:02,600 --> 00:03:04,130 มันคือเงิน 100 เซ็นต์. 65 00:03:04,130 --> 00:03:05,590 แล้วเราก็ลบ. 66 00:03:05,590 --> 00:03:11,920 103 ลบ 100 จะเท่ากับ 3, และตอนนี้เรา 67 00:03:11,920 --> 00:03:14,100 ก็ดึง 0 นี่ลงมา. 68 00:03:14,100 --> 00:03:16,640 เราก็ดึง 0 นั่นลงมา. 69 00:03:16,640 --> 00:03:20,710 25 ไปหาร 30 ได้หนึ่งครั้ง. 70 00:03:20,710 --> 00:03:22,210 และถ้าต้องการ เราก็ใส่ 71 00:03:22,210 --> 00:03:23,070 ทศนิยมตรงนี้ได้. 72 00:03:23,070 --> 00:03:25,400 เราไม่ต้องรอจนจบก็ได้. 73 00:03:25,400 --> 00:03:27,930 ทศนิยมนี่อยู่ตรงนี้ เราจึง 74 00:03:27,930 --> 00:03:30,730 ได้ทศนิยมอยู่ตรงนี้ ในคำตอบ 75 00:03:30,730 --> 00:03:31,980 หรือผลหารของเรา. 76 00:03:31,980 --> 00:03:34,010 77 00:03:34,010 --> 00:03:36,690 เราได้ 25 ไปหาร 30 ได้หนึ่งครั้ง. 78 00:03:36,690 --> 00:03:43,970 1 คูณ 25 ได้ 25, แล้วเราก็ลบได้. 79 00:03:43,970 --> 00:03:46,550 30 ลบ 25, มันก็แค่ 5. 80 00:03:46,550 --> 00:03:48,510 เราจะยืม หรือจับกลุ่มใหม่ก็ได้. 81 00:03:48,510 --> 00:03:49,140 82 00:03:49,140 --> 00:03:50,410 นี่กลายเป็น 10 ได้. 83 00:03:50,410 --> 00:03:51,570 นี่กลายเป็น 2. 84 00:03:51,570 --> 00:03:53,350 10 ลบ 5 ได้ 5. 85 00:03:53,350 --> 00:03:55,200 2 ลบ 2 ได้ศูนย์. 86 00:03:55,200 --> 00:03:59,250 แล้วได้ 30 ลบ 25 ได้ 5. 87 00:03:59,250 --> 00:04:02,860 ตอนนี้เราดึง 7 นี่ลงมาได้. 88 00:04:02,860 --> 00:04:06,270 25 ไปหาร 57 ได้สองครั้ง ใช่ไหม? 89 00:04:06,270 --> 00:04:08,780 25 คูณ 2 ได้ 50. 90 00:04:08,780 --> 00:04:11,940 25 ไปหาร 57 ได้สองครั้ง. 91 00:04:11,940 --> 00:04:15,130 2 คูณ 25 ได้ 50. 92 00:04:15,130 --> 00:04:16,940 แล้วเราก็ลบอีกครั้ง. 93 00:04:16,940 --> 00:04:19,950 57 ลบ 50 ได้ 7. 94 00:04:19,950 --> 00:04:21,760 เราใกล้เสร็จแล้ว. 95 00:04:21,760 --> 00:04:24,360 96 00:04:24,360 --> 00:04:28,280 เราดึง 5 นั่นลงมา. 97 00:04:28,280 --> 00:04:34,150 25 ไปหาร 75 ได้สามครั้ง. 98 00:04:34,150 --> 00:04:36,610 3 คูณ 25 ได้ 75. 99 00:04:36,610 --> 00:04:39,390 3 คูณ 5 ได้ 15. 100 00:04:39,390 --> 00:04:40,240 ทด 1. 101 00:04:40,240 --> 00:04:40,980 ช่างมันได้. 102 00:04:40,980 --> 00:04:41,920 มันมาจากอันก่อน. 103 00:04:41,920 --> 00:04:44,960 3 คูณ 2 ได้ 6, บวก 1 เป็น 7. 104 00:04:44,960 --> 00:04:46,260 คุณก็เห็นได้ 105 00:04:46,260 --> 00:04:51,540 เราลบ แล้วไม่เหลือเศษ. 106 00:04:51,540 --> 00:04:59,110 25 ไปหาร 103.075 ได้ 4.123 ครั้ง 107 00:04:59,110 --> 00:05:02,100 ซึ่งดูใช้ได้ เพราะ 25 ไปหาร 100 ได้สี่ครั้ง. 108 00:05:02,100 --> 00:05:04,080 ค่านี้มากกว่า 100 นิดหน่อย มันจึง 109 00:05:04,080 --> 00:05:05,740 มากกว่า 4 นิดหน่อย. 110 00:05:05,740 --> 00:05:07,920 และมันจะเท่ากับ จำนวนครั้งที่ 0.25 111 00:05:07,920 --> 00:05:16,600 ไปหาร 1.03075 ได้. 112 00:05:16,600 --> 00:05:21,520 มันจะเท่ากับ 4.123 เช่นกัน. 113 00:05:21,520 --> 00:05:24,580 เศษส่วนนี้ หรือพจน์นี้ 114 00:05:24,580 --> 00:05:29,730 เท่ากับ 4.123 พอดี. 115 00:05:29,730 --> 00:05:31,340 เสร็จแล้ว!